การจำลองความคิด http://www.mwit.ac.th/~jeed.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเขียนผังงาน.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
Algorithms.
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Chapter 7 Iteration Statement
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ครูรัตติยา บุญเกิด.
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
คำสั่ง while และ do…while
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
หลักการแก้ปัญหา.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
Week 3 Flow Control in PHP
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
Chapter 6 Repetition Structure[2] ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำลองความคิด http://www.mwit.ac.th/~jeed

การจำลองความคิด ขั้นตอนที่สำคัญในการแก้ปัญหาคือการวางแผน การวางแผนที่ดีจะช่วยให้การแก้ปัญหาเป็นไปได้โดยง่าย ผู้ที่สามารถวางแผนในการแก้ปัญหาได้ดีนอกจากจะต้องใช้ประสบการณ์ ความรู้ และความมีเหตุผลแล้ว ยังควรรู้จักวางแผนให้เป็นขั้นตอนและมีระเบียบด้วย การจำลองความคิดเป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนที่สองของการแก้ปัญหา การจำลองความคิดออกมาในลักษณะข้อความ หรือเป็นแผนภาพ จะช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้ดี โดยเฉพาะปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน

เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการจำลองความคิดมักจะประกอบขึ้นด้วยเครื่องหมายที่แตกต่างกันหลายอย่าง พอสรุปได้เป็น 2 ลักษณะได้แก่ 1. ข้อความหรือคำบรรยาย (Pseudo code) 2. สัญลักษณ์ (Flow chart)

ข้อความหรือคำบรรยาย (Pseudo code) เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมแต่ละตอน ในบางครั้งอาจใช้คำสั่งของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้ ตัวอย่าง Pseudo code แสดงขั้นตอนการไปทำข้อสอบวิชาฟิสิกส์ 1. อ่านคำชี้แจงของข้อสอบ 2. คิดถึงหน้าอาจารย์ผู้สอน 3. ลงมือทำข้อสอบตั้งแต่ข้อแรกถึงข้อสุดท้าย 4. มองหน้าเพื่อนข้างๆ 5. กลับมามองที่ข้อสอบของตัวเอง แล้วตรวจคำตอบตั้งแต่ข้อแรกถึงข้อสุดท้าย 6. ตัดสินใจส่งข้อสอบให้อาจารย์ผู้คุมสอบ

สัญลักษณ์ (Flow chart) เป็นเครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สำหรับสื่อสารความหมายให้เข้าใจตรงกัน ซึ่ง สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน (The American National Institute, ANSI) ได้กำหนดสัญลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐาน

ตัวอย่าง การวางแผนการไปโรงเรียน ตัวอย่าง การวางแผนการไปโรงเรียน เริ่มต้น ตื่นนอน อาบน้ำแต่งตัว ไปโรงเรียน จบ Flow chart เริ่มต้น ตื่นนอน อาบน้ำและแต่งตัว ไปโรงเรียน จบ Pseudo code

การเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรม (programming) หมายถึง กระบวนการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูล และกำหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้แก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของแต่ละภาษา

โครงสร้างควบคุมหลัก โครงสร้างควบคุมหลักในการสร้างงานที่แตกต่างกัน แต่ทุกภาษาจะต้องมี โครงสร้างแบบลำดับ (Sequential structure) โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection structure) โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repetition structure)

โครงสร้างแบบลำดับ โครงสร้างแบบลำดับ คือ โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทำงานที่เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูกประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น

โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่งที่ 1 คำสั่งที่ 2 ... คำสั่งที่ n

โครงสร้างแบบมีทางเลือก โครงสร้างแบบมีทางเลือก คือ โครงสร้างที่มีเงื่อนไข ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนที่ต้องมีการตัดสินใจ เพื่อเลือกวิธีการประมวลผลขั้นต่อไป และจะมีบางขั้นตอนที่ไม่ได้รับการประมวลผล การตัดสินใจอาจมีทางเลือก 2 ทางหรือมากกว่าก็ได้ โครงสร้างที่มีทางเลือกเพียง 2 ทางเราเรียกชื่อว่า โครงสร้างแบบ if…then…else และโครงสร้างที่มีทางเลือกมากกว่า 2 ทาง เราเรียกชื่อว่าโครงสร้างแบบ case

โครงสร้างแบบมีทางเลือก แบบ if…then…else เท็จ เงื่อนไข จริง คำสั่ง คำสั่ง

โครงสร้างแบบมีทางเลือก แบบ case เงื่อนไข กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ n คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง

โครงสร้างแบบทำซ้ำ โครงสร้างแบบทำซ้ำ คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำงานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการ โครงสร้างแบบซ้ำนี้ต้องมีการตัดสินใจในการทำงานซ้ำ และลักษณะการทำงานของโครงสร้างแบบนี้มี 2 แบบคือ 1. แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการทำซ้ำทุกครั้งก่อนดำเนินการกิจกรรมใดๆ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำซ้ำไปเรื่อยๆ และหยุดเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ เรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า การทำซ้ำแบบ do while 2. แบบที่ทำกิจกรรมซ้ำเรื่อยๆ จนกว่าเงื่อนไขที่กำหนดเป็นจริงแล้วหยุดการทำงาน โดยแต่ละครั้งที่เสร็จสิ้นการดำเนินการแต่ละรอบจะต้องมีการมีการตรวจสอบเงื่อนไข เรียกการทำซ้ำลักษณะนี้ว่า การทำซ้ำแบบ do until

โครงสร้างทำซ้ำแบบ do while คำสั่ง คำสั่ง จริง เงื่อนไข เท็จ

โครงสร้างทำซ้ำแบบ do until คำสั่ง คำสั่ง เท็จ เงื่อนไข จริง