อิรัก-อิหร่าน
สงครามอิรัก อิหร่านค.ศ.1980-1988
สาเหตุ ปัญหาเรื่องเชื้อชาติ ทั้งสองประเทศมีปัญหาเรื่องชนกลุ่มน้อยในประเทศของตน ปัญหาเรื่องเขตแดน อิรักไม่พอใจการปักปันเขตแดนเส้นแบ่งปากแม่น้ำซัด-อัล-อาหรับ ปัญหาชาวชาวเคิร์ด ชาวเคิร์ดอยู่ทางเหนือของอิรักติดอิหร่าน ปัญหาการแย่งกันเป็นผู้นำของกลุ่มประเทศอาหรับ
แผนที่แค้วนคูเซสถาน 22 ก.ย.1980 อิรักยึดแคว้นคูเซสถาน แผนที่แค้วนคูเซสถาน 22 ก.ย.1980 อิรักยึดแคว้นคูเซสถาน
แผนที่แสดงแนวแบ่งเขตแม่น้ำซัด อัลอาหรับ
ผู้นำของทั้งสองประเทศ โคไมนี ซัดดัม ฮุสเซน
เหตุการณ์ของสงคราม (ค.ศ.1980-1988) เหตุการณ์ของสงคราม (ค.ศ.1980-1988) ความขัดแย้งเริ่มรุนแรงเมื่อ 22 กัน ยายน 1980 อิรักโจมตีแค้วนคูเซสถานของอิหร่าน โดยมีสหรัฐให้การสนับสนุนอิรักอยู่เบื้องหลังและอิหร่านมีสหภาพโซเวียตสนับสนุน สงครามดังกล่าวยาวนานถึง 8 ปี สหประชาติเป็นผู้ไกล่เกลี่ย http://search.live.com/video/results.aspx?q=iran%20iraq%20war&first=1&docid=1472944275829#first=1&docid=1472818512123
ผลของสงคราม 18 กรกฎาคมค.ศ.1989รัฐบาลอิหร่านได้ประกาศยอมรับแผนการสันติภาพของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและอิรักก็ยอมรับในมตินี้ด้วย
เพราะเหตุใดอิรักจึงบุกคูเวต อิรักบุกคูเวต เพราะเหตุใดอิรักจึงบุกคูเวต
อิรักบุกคูเวต 2 ส.ค.1990 ปัญหาทางเศรษฐกิจเนื่องจากสงครามที่ผ่านมา อิรักกล่าวหาว่าคูเวตขโมยสูบน้ำมันดิบ อิรักต้องการทางออกทะเลอ่าวเปอร์เชีย อิรักต้องการคุมแหล่งน้ำมันของโลก ปัญหาการแย่งชิงพรมแดนกับคูเวต
อิรักมีหนี้สินที่กู้ยืมมาจากต่างประเทศมากโดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาราเบียและคูเวตมีจำนวนเงินรวมกันประมาณ80,000ล้านบาท
เหตุการณ์ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้มีมติเป็นเอกฉันท์ประณามการรุกรานและประกาศคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรัก ให้อิรักถอนกำลังออกจากคูเวตภายในวันที่ 15 มกราคม 1991
ปฏิบัติการพายุทะเลทราย ประธานาธิบดีจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช (George H. W. Bush) แห่งสหรัฐอเมริกาโจมตีทางอากาศในอิรักและคูเวตเมื่อวันที่ 17 มกราคม 1991 กองกำลังพันธมิตรร่วมมือโจมตีอิรักด้วยยุทธการ พายุทะเลทราย ทางอากาศและภาคพื้นดินจนได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาด ประกาศหยุดยิงเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 1991
ผลของสงคราม มีผู้เสียชีวิต ทหารและประชาชนผู้บริสุทธิ์ฝ่ายอิรักเสียชีวิตประมาณ 200,000 คนและบาดเจ็บอีกนับไม่ถ้วน ฝ่ายสหประชาชาติเสียชีวิตประมาณ 378 คนและบาดเจ็บอีกประมาณ 1,000 คน
อิรักเผาบ่อน้ำมันในคูเวตหลายร้อยบ่อก่อนที่จะล่าถอย ทำให้ต้องใช้เวลาเกือบปีจึงจะดับไฟได้หมด อิรักยังปล่อยน้ำมันลงสู่อ่าวเปอร์เซียจำนวนมหาศาลอีก
สงครามอ่าวเปอร์เชีย 1990-1991
กองกำลังทหารอเมริกันที่ร่วมรบ
เครื่องป้องกันของทหารในสงคราม