สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
กรณีศึกษาการกระจายรายได้ของประเทศไทย
โครงการแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการเกี่ยวกับสหภาพยุโรป
คลิกที่รูป... สู่ ฮานอย เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจถึงเมื่อปี พ. ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25%
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก
รายงาน เรื่อง การปฏิวัติการค้าสมัยยุโรป เสนอ คุณครู อรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาขอนแก่นเขต 25.
ประธานาธิบดีสหพันธรัฐรัสเซียคนที่ 1 ( ) บอริส นิโคลาเยวิช เยล์ตซิน Boris Nikolayevich Yeltsin วัน เดือนปี สถานที่เกิด 1 กุมภาพันธ์ 1931 ทีหมู่บ้าน.
การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
คนย้ายถิ่นหนีไฟใต้แล้วกว่า 1ล้านคน
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ การตั้งถิ่นฐานของประชาชน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ความขัดแย้งระหว่าง อิสราเอล-อาหรับ
นโยบายคู่ กลาสนอสต์ เปเรสทรอยก้า
อิรัก-อิหร่าน.
สงครามเย็น.
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ช.ชณะชล อิ่มเพ็ง กลุ่ม 15 เลขที่ 39.
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
เรื่อง ประเทศออสเตรเลีย นฤมล ย้อนใจทัน โรงเรียนอุดมดรุณี ผู้จัดทำ
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปยุโรป
การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
นครแห่งศิลปะ และ ดนตรี
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เผด็จการทหารพม่า เป็นปัญหาของประชาชาติชาติทั่วโลก
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอนครู ธีระพล เข่งวา
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ประเทศสิงคโปร์.
ศาสนาคริสต์.
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
36 1. สหรัฐอเมริกาใช้อะไรในการฟื้นฟู เศรษฐกิจของทวีปยุโรป เพื่อต่อ ต้านคอมมิวนิสต์ ก. แผนการมาร์แชลล์ ข. หลักการทรูแมน ค. แผนการโมโลตอฟ ง. นโยบายกลาสต์-เปเรสตรอยกา.
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
การแทรกแซง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยบังคับรัฐอื่นให้กระทำในสิ่งที่ ตนต้องการ การแทรกแซงย่อม เป็นการคุกคามอำนาจอธิปไตย ของรัฐอื่น ซึ่งเป็นการละเมิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียประกอบด้วย 6 รัฐ 2 มณฑลอิสระ มาซิโดเนีย มอนเตรนิโกร โครเอเซีย สโลวีเนีย บอสเนีย – เฮอร์เซโกวีนา เซอร์เบีย มณฑลอิสระ วอยวอดีนา Vojvodina และ โคโซวอ Kosovo 2/2550/40106 พรรณวิภา

จอมพลโจซิฟ บรอซ ติโต ผู้นำยูโกสลาเวีย จอมพลโจซิฟ บรอซ ติโต ผู้นำยูโกสลาเวีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

แผนที่ยูโกสลาเวีย ปี 1991 2/2550/40106 พรรณวิภา

แผนที่ยูโกสลาเวียในอดีต เชื้อชาติต่างในยูโกสลาเวียปี 1991 2/2550/40106 พรรณวิภา

สาเหตุของความขัดแย้งในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ความขัดแย้งภายในเรื่องเชื้อชาติ 3 กลุ่ม คริสต์นิกายกรีกออร์โธดอกซ์ ชาวเซิร์บที่นับถือคริสนกายโรมันคาทอลิก กลุ่มมุสลิม 2/2550/40106 พรรณวิภา

ดินแดนที่เป็นยูโกสลาเวียประกอบด้วย เซอร์เบีย มอนเตรนิโกร และวอยวอดินา ดินแดนที่เป็นยูโกสลาเวียประกอบด้วย เซอร์เบีย มอนเตรนิโกร และวอยวอดินา 2/2550/40106 พรรณวิภา

การแยกตัวของบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา จากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐ 2 แห่งของยูโกสลาเวีย เริ่มประกาศอิสระภาพ สลาโวเนีย (สโลเวเนีย) โครเอเชีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

สาธารณรัฐ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา สาธารณรัฐ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ได้ประกาศเอกราชแยกตัวจากรัฐบาลกลางของยูโกสลาเวีย ชาวเซิร์บประกาศแยกตัวซ้อนรัฐบาลบอสเนีย ไม่ยอมและเซอร์เบียเป็นสาธารณรัฐใหญ่สุด ต้องการให้ยูโกสลาเวียเป็นประเทศเดียว จึงเกิดสงครามระหว่างเซอร์เบียกับสาธารณรัฐนั้นๆ 2/2550/40106 พรรณวิภา

เชื้อชาติในบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินา 2/2550/40106 พรรณวิภา

นายสโลโบดาน มิโลเซวิช ผู้นำเซอร์เบีย นายสโลโบดาน มิโลเซวิช ผู้นำเซอร์เบีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

ที่มาความขัดแย้ง @ ชาวโครแอตต้องการให้ดินแดนส่วนตนอาศัยอยู่ เข้ารวมกับรัฐโครเอเชีย @ ชาวเซิร์บในบอสเนียต้องการรวมเข้ากับรัฐเซอร์เบีย @ ชาวเซิร์บประกาศตัวเป็นอิสระซ้อนกับดินแดนบอสเนีย จึงเกิดสงครามกลางเมืองระหว่างรัฐบาลบอสเนีย(เป็นชาวมุสลิม)กับชาวเซิร์บในบอสเนียซึ่งได้รับการสนับสนุนจากเซอร์เบีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

สภาพเหตุการณ์ ชาวเซิร์บภายใต้การนำของนายคาราจิช แยกดินแดนส่วนหนึ่งในบอสเนีย - เฮอร์เซโกวินาออกเป็นอิสระในนาม “รัฐของชาวเซิร์บในบอสเนีย” มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองปาเล 2/2550/40106 พรรณวิภา

สงครามเริ่มรุนแรงปี 1994 ประชาคมยุโรป นาโต และสหประชาชาติเข้าแทรกแซง ทำการต่อสู้ขัดขวางการแยกตัวเป็นอิสระของชาวมุสลิมบอสเนียอย่างโหดร้าย ทารุณ ขับไล่ชาวมุสลิมและโคแอตออกจากถิ่นฐาน สงครามเริ่มรุนแรงปี 1994 ประชาคมยุโรป นาโต และสหประชาชาติเข้าแทรกแซง 2/2550/40106 พรรณวิภา

ผลของสงครามหลังการเจรจา สหพันธุ์บอสเนีย- โคแอต (มุสลิมรวมกับโคแอต) ครอบครองพื้นที่ 51 % สาธารณรัฐบอสเนีย- เซิร์บ (กลุ่มชาวเซิร์บ)ครอบครองพื้นที่ 49% 14 ก.ย.1996 บอสเนียเลือกตั้งครั้งแรกมีประธานาธิบดี คนแรก นายลิยา อลิยา อิเซ็ท เบโควิช เป็นมุสลิมบอสเนีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

ปี 1991 สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียเหลือ เซอร์เบีย มอนเตรนิโกร โคโซวอ วอยโวดินา 2/2550/40106 พรรณวิภา

ปัญหาโคโซวอ 2/2550/40106 พรรณวิภา

โคโซวอ ประชากรร้อยละ 90 เป็นชาวแอลบาเนีย ร้อยละ 10 เป็นชาวเซอร์เบีย ประชากรร้อยละ 90 เป็นชาวแอลบาเนีย ร้อยละ 10 เป็นชาวเซอร์เบีย ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ ประกาศยกเลิกสิทธิการปกครองตนเองของโคโซวอ และสนับสนุนให้ชาวเซิร์บ อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐาน ในโคโซวอ และกดขี่ชาวแอลบาเนีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

เกิดการต่อต้านในโคโซวอ และโคโซวอประกาศ เอกราชเมื่อ ก. ค เกิดการต่อต้านในโคโซวอ และโคโซวอประกาศ เอกราชเมื่อ ก.ค. 1990 ประธานาธิบดี สโลโบดาน มิโลเซวิซ แห่งยูโกสลาเวียพยายามปราบปราม ชาวโคโซวอ เชื้อสายแอลบาเนีย เรียกว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (genocide) ช่วงค.ศ. 1990-1998 2/2550/40106 พรรณวิภา

2/2550/40106 พรรณวิภา

NATO เข้ามาแทรกแซงให้ยุติการปราบปรามชาว โคโซวอเชื้อสายแอลบาเนีย 26 มี NATO เข้ามาแทรกแซงให้ยุติการปราบปรามชาว โคโซวอเชื้อสายแอลบาเนีย 26 มี.ค. 2007 นาย Martti Ahtisaari ฑูตพิเศษของสหประชาชาติ เสนอให้เอกราชแก่ โคโซวอ 2/2550/40106 พรรณวิภา

การอพยพลี้ภัยของเชื้อสายแอลบาเนีย 2/2550/40106 พรรณวิภา

สภาพสงครามในโคโซวอ 2/2550/40106 พรรณวิภา

แผนข้อเสนอของฑูตพิเศษ @ กำหนดให้โคโซวอ เป็นเอกราชภายใต้การดูแลของนานาชาติ โคโซวอสามารถเข้าเป็นสมาชิก UN มีธงชาติ และเพลงชาติเป็นของตนเอง @ห้ามโคโซวอผนวกรวมกับ แอลบาเนียและห้ามพื้นที่ของชาวเซิร์บ ผนวกเข้ารวมกับเซอร์เบีย @ ชนกลุ่มน้อยชาวเซิร์บจะได้รับการคุ้มครองและต้องมีที่นั่งในรัฐบาลท้องถิ่นและรัฐสภารวมทั้งต้องมีการให้สถานพิเศษแก่ศาสนาคริสต์นิกายเซอร์เบียออร์โธดอกซ์ 2/2550/40106 พรรณวิภา