ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก 20 - 27 สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
หลักการและเหตุผล การประกอบอาชีพถีบสามล้อเป็นอาชีพที่ต้องใช้แรงงานคน หันมาพึ่งเครื่องดื่มบำรุงกำลัง การศึกษาของ ผศ.อำนาจ ตั้งเจริญชัย ผู้ใช้แรงงานในเขตอุตสาหกรรมลาดกระบังจำนวน 330 คน เก็บข้อมูลระหว่าง เดือน สิงหาคม - ตุลาคม พ.ศ.2539 ผลการศึกษา ชาย > หญิง, อายุ 20-25 ปี, รายได้ 4,000-5,000 บ/ด. ไม่ยึดติดกับยี่ห้อ, เหตุผลในการดื่ม ไม่ง่วง,หายอ่อนเพลีย,สดชื่น
วัตถุประสงค์การวิจัย
รูปแบบการวิจัย Cross-sectional descriptive study แบบสอบถามร่วมกับการสัมภาษณ์ เก็บข้อมูล 20 - 27 สิงหาคม 2543 ประชากร = กลุ่มตัวอย่าง = คำนิยาม เครื่องดื่มบำรุงกำลัง ผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อ BMI
ผลการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อจำนวน 97 คน ประกอบอาชีพเป็นอาชีพหลัก ร้อยละ84.5 (เลือกเป็นอาชีพรองเพราะอะไร) เพศชาย มากกว่า เพศหญิง ช่วงอายุที่พบมากคือ 35 - 43 ปี ดัชนีมวลกาย ต่ำกว่า สูงกว่าระดับมาตรฐานร้อยละ15.5,16.5 ตามลำดับ
ระดับการศึกษาส่วนมาก จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (จบ ป.ตรี = 1 คน) ส่วนใหญ่แต่งงานแล้ว(74.2 %) จำนวนบุตรเฉลี่ย 3 คน สมาชิกในครอบครัว 4 คน รายได้เฉลี่ย 90 บาท/วัน ส่วนใหญ่พอใจกับรายได้(59.8%)
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา
สารเสพติดในเครื่องดื่ม ผลการศึกษา สารเสพติดในเครื่องดื่ม
การอ่านฉลากก่อนบริโภค ผลการศึกษา การอ่านฉลากก่อนบริโภค
ข้อบ่งชี้ในการบริโภค ผลการศึกษา ข้อบ่งชี้ในการบริโภค
ผลการศึกษา
ความสัมพันธ์การบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลัง ระดับการศึกษา กับ P-value การบริโภค 0.76 ความถี่ในการดื่ม 0.52 จำนวนในการดื่มแต่ละวัน 0.12 การอ่านฉลากข้างขวดก่อนดื่ม 0.62 ข้อบ่งชี้ในการบริโภค 0.91 ความรู้เกี่ยวกับคาเฟอีนในเครื่องดื่ม 0.18 ความเพียงพอของรายได้ กับ การดื่มเครื่องดื่มบำรุงกำลัง P = 0.23
จำนวนการดื่มในแต่ละวัน กับ P- value อาการหลังดื่ม (ปัสสาวะบ่อย) 0.01** อาการเมื่อไม่ได้ดื่ม 0.43 การอ่านฉลากก่อนดื่ม กับ ความถี่ในการดื่ม 0.06 จำนวนในการดื่ม 0.90 ข้อบ่งชี้ในการดื่ม 0.30 ความรู้เกี่ยวกับคาเฟอีนในเครื่องดื่ม 0.00** รายได้ กับ การดื่มเครื่องดื่ม 0.43
วิจารณ์ผลการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อเป็นอาชีพรอง(15.5 %) การประกอบอาชีพถีบสามล้อ ใช้กำลัง + ใช้เวลานาน ----------> เครื่องดื่ม ด้วยเหตุผลที่ว่า… ช่วยเพิ่มพลังงาน,มีกำลัง,หายอ่อนเพลีย, สดชื่น
ทัศนคติเกี่ยวกับการบริโภค….. ช่วยให้มีกำลัง ทำงานได้มากขึ้น ไม่ง่วง วิจารณ์ ทัศนคติเกี่ยวกับการบริโภค….. ช่วยให้มีกำลัง ทำงานได้มากขึ้น ไม่ง่วง หายอ่อนเพลีย ข้อมูลจาก อย. ระบุว่า….. ให้พลังงานเพียง 8 แคลอรี่ เทียบได้กับข้าวเพียง 2 กรัม ฤทธิ์ = มีผลกระตุ้น CNS ,RESPIRATORY SYSTEM,CVS,GI
วิจารณ์ การเลือกบริโภคเครื่องดื่ม ขึ้นอยู่กับ ราคา หาซื้อง่ายกว่าเครื่องบำรุงกำลังอื่นๆ ไม่ยึดติดกับยี่ห้อ ความแรงของสารกระตุ้น โฆษณา ความใหม่ของผลิตภัณฑ์ รสชาติ มากที่สุด คือ รางวัลเสี่ยงโชค
วิจารณ์ ลักษณะการบริโภค @ ส่วนใหญ่ดื่มทุกวัน ร้อยละ 66.3 @ มีความรู้ถึงสารผสมในเครื่องดื่มจำพวก สารคาเฟอีน ร้อยละ 52.5 @ ไม่ทราบไม่รู้โทษ ร้อยละ 32.5 อาการหากไม่ดื่ม = คอแห้ง กระสับกระส่าย ง่วง นอน ไม่มีแรง อยากกระหาย
การอ่านฉลากข้างขวดและข้อบ่งใช้ ….. วิจารณ์ การอ่านฉลากข้างขวดและข้อบ่งใช้ ….. อย. ฉลากข้างขวด “ห้ามดื่มเกินวันละ 2 ขวด เพราะหัวใจจะสั่น นอนไม่หลับ เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรดื่ม ผู้ป่วยปรึกษาแพทย์ก่อน” โฆษณา = ห้ามสื่อความหมายที่ก่อให้การเข้าใจผิด เช่น ดื่มแล้วเพิ่มพลังงาน ไม่รู้จักเหนื่อย ตื่นตัวตลอดเวลา
การปฏิบัติในการบริโภค ….. @ มีผู้อ่านฉลากข้างขวดร้อยละ 80 วิจารณ์ การปฏิบัติในการบริโภค ….. @ มีผู้อ่านฉลากข้างขวดร้อยละ 80 @ เข้าใจไม่ถูกต้องร้อยละ 7.5 “ ดื่มกี่ขวดก็ได้ ” @ ไม่มีผู้ที่ดื่มก่อนนอน (ร้อยละ100 ) @ ไม่พบการเกิดอุบัติเหตุอันเนื่องมาจากการดื่ม เครื่องดื่มบำรุงกำลัง
ประโยชน์และข้อเสนอแนะการวิจัย ทราบถึงทัศนคติของการใช้เครื่องดื่ม เป็นสื่อให้ความรู้ทางอ้อมต่อผลเสียของการดื่ม นำผลที่ได้มาเป็นแนวทางในการศึกษาอาชีพอื่น ข้อเสนอแนะ ความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์ดีแต่มีบางส่วนมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง การควบคุม ดูแล ฉลากอาหารและการโฆษณาเป็นส่วนสำคัญ
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก 20 - 27 สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์