ไมโครโฟน (Microphone)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Mid-Term & Assignment สุริยา วิทยาประดิษฐ์ EEET0470
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
กิจกรรมที่ 1 ข้อตกลงการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
การจับไมโครโฟน(มือซ้าย) การจับไมค์โครโฟน(โดยมือขวา)
พ.จ.อ.ภาคภูมิ โชติสุวรรณกุล
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
เลื่อยมือ hack saw.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การสื่อสารประเภทวิทยุ
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ไดร์เป่าผม.
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
ดนตรีสากล จัดทำโดย เด็กชายศิณุพงศ์ เกาะแก้ว ม.1/6 เลขที่ 9 เสนอ
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
อุบัติเหตุจากการทำงาน
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
หลักการบันทึกเสียง.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไมโครโฟน (Microphone)

ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) หรือคลื่นอากาศจากแหล่งกำเนิดเสียง เช่น เสียงพูด เสียงเพลง หรือ เสียงจากเครื่องดนตรี ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง แล้วส่งไปตามสายไมโครโฟนเข้าสู่เครื่องขยายเสียง เสียง AMP. MIC. สัญญาณไฟฟ้า

ชนิดของไมโครโฟนจำแนกตามวัสดุที่ใช้ในไมโครโฟน คาร์บอนไมโครโฟน (Carbon Microphone) คริสตอลไมโครโฟน (Crystal Microphone) เซอรามิกไมโครโฟน (Ceramic Microphone) Crystal/Ceramic

ริบบอนไมโครโฟน (Ribbon or Velocity Microphone) คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone) ริบบอน ริบบอนไมโครโฟน (Ribbon or Velocity Microphone) ไดอะแฟรม Moving Coil แม่เหล็กถาวร ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone)

ชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามลักษณะการใช้งาน แบบตั้งโต๊ะหรือตั้งกับพื้น แบบมือถือ แบบห้อยคอหรือหนีบปกเสื้อ แบบมีแขนยื่นหรือแบบบูม(Boom Microphone) แบบไร้สาย (Wireless Microphone)

ชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามทิศทางของการรับเสียง Polar Pattern ทิศทางเดียวมุมแคบ (Uni - Directional) ทิศทางเดียวมุมกว้างหรือเป็นรูปหัวใจ (Cardioid or Heart Sharped Microphone) ชนิดรับเสียงได้สองทิศทาง (Bi - directional) ชนิดรับเสียงได้รอบทิศทาง (Omni or All Directional)

คุณสมบัติเฉพาะของไมโครโฟน ค่าอิมพีแดนซ์ (Impedance) ค่าอิมพีแดนซ์สูง (High Impedance) 5 - 100 กิโลโอห์ม ค่าอิมพีแดนซ์ ต่ำ(Low Impedance) 200 - 600 โอห์ม การตอบสนองความถี่เสียง (Frequency Response) ได้ย่านกว้าง เช่น 50 - 15,000 Hz ความไวในการรับเสียง (Sensitivity) บอกค่าเป็นเดซิเบล(dB) ค่าเดซิเบลติดลบมาก เช่น - 90 dB จะไวต่อเสียงต่ำกว่าค่าติดลบน้อย เช่น - 60 dB

วิธีใช้และดูแลรักษาไมโครโฟน เลือกไมโครโฟนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น ทิศทางการรับเสียง การตอบสนองความถี่ หรือความไว ระยะห่างจากไมโครโฟนถึงปากผู้พูดประมาณ 3 - 6 นิ้ว ไม่ควรเคาะหรือเป่าที่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมชำรุดใช้งานไม่ได้

อย่าวางสายไมโครโฟนใกล้กับสายไฟ AC หันลำโพงให้พ้นไปจากไมโครโฟนหรือเปลี่ยนที่ตั้งใหม่เมื่อเกิดการ Feedback ควรใช้Wind Screen เมื่อนำไมโครโฟนไปใช้นอกสถานที่ หรือกลางแจ้งเพื่อกันเสียงลม