ไมโครโฟน (Microphone)
ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) หรือคลื่นอากาศจากแหล่งกำเนิดเสียง เช่น เสียงพูด เสียงเพลง หรือ เสียงจากเครื่องดนตรี ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง แล้วส่งไปตามสายไมโครโฟนเข้าสู่เครื่องขยายเสียง เสียง AMP. MIC. สัญญาณไฟฟ้า
ชนิดของไมโครโฟนจำแนกตามวัสดุที่ใช้ในไมโครโฟน คาร์บอนไมโครโฟน (Carbon Microphone) คริสตอลไมโครโฟน (Crystal Microphone) เซอรามิกไมโครโฟน (Ceramic Microphone) Crystal/Ceramic
ริบบอนไมโครโฟน (Ribbon or Velocity Microphone) คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน (Condenser Microphone) ริบบอน ริบบอนไมโครโฟน (Ribbon or Velocity Microphone) ไดอะแฟรม Moving Coil แม่เหล็กถาวร ไดนามิกไมโครโฟน (Dynamic Microphone)
ชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามลักษณะการใช้งาน แบบตั้งโต๊ะหรือตั้งกับพื้น แบบมือถือ แบบห้อยคอหรือหนีบปกเสื้อ แบบมีแขนยื่นหรือแบบบูม(Boom Microphone) แบบไร้สาย (Wireless Microphone)
ชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามทิศทางของการรับเสียง Polar Pattern ทิศทางเดียวมุมแคบ (Uni - Directional) ทิศทางเดียวมุมกว้างหรือเป็นรูปหัวใจ (Cardioid or Heart Sharped Microphone) ชนิดรับเสียงได้สองทิศทาง (Bi - directional) ชนิดรับเสียงได้รอบทิศทาง (Omni or All Directional)
คุณสมบัติเฉพาะของไมโครโฟน ค่าอิมพีแดนซ์ (Impedance) ค่าอิมพีแดนซ์สูง (High Impedance) 5 - 100 กิโลโอห์ม ค่าอิมพีแดนซ์ ต่ำ(Low Impedance) 200 - 600 โอห์ม การตอบสนองความถี่เสียง (Frequency Response) ได้ย่านกว้าง เช่น 50 - 15,000 Hz ความไวในการรับเสียง (Sensitivity) บอกค่าเป็นเดซิเบล(dB) ค่าเดซิเบลติดลบมาก เช่น - 90 dB จะไวต่อเสียงต่ำกว่าค่าติดลบน้อย เช่น - 60 dB
วิธีใช้และดูแลรักษาไมโครโฟน เลือกไมโครโฟนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น ทิศทางการรับเสียง การตอบสนองความถี่ หรือความไว ระยะห่างจากไมโครโฟนถึงปากผู้พูดประมาณ 3 - 6 นิ้ว ไม่ควรเคาะหรือเป่าที่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมชำรุดใช้งานไม่ได้
อย่าวางสายไมโครโฟนใกล้กับสายไฟ AC หันลำโพงให้พ้นไปจากไมโครโฟนหรือเปลี่ยนที่ตั้งใหม่เมื่อเกิดการ Feedback ควรใช้Wind Screen เมื่อนำไมโครโฟนไปใช้นอกสถานที่ หรือกลางแจ้งเพื่อกันเสียงลม