ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (http://www.csdl.tamu.edu/FLORA/tfplab/reproch.htm)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
การเจริญเติบโตของพืช
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Physiology of Crop Production
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
颜色 Yánsè ความเชื่อเรื่อง สี ของชาวจีน โครงงาน เสนอ
Cell Specialization.
การเจริญเติบโตของมนุษย์
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
การจัดเรียงตัวของใบมีหลายแบบดังนี้
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
Habit of Plant……....
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
พืชตระกูลสน Gymnospermae
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
1. แนวความคิดในการศึกษา
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ดินถล่ม.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
ดอกไม้ฤดูหนาว.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
Kingdom Plantae.
ผู้จัดทำ นายเอกพจน์ นรชาติวศิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จิตต์อารีฯ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (http://www.csdl.tamu.edu/FLORA/tfplab/reproch.htm)

ชนิดของราก (Root system) แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ - ระบบรากแก้ว (tap root, primary root) เจริญเติบโตเร็ว ขนาดค่อนข้างใหญ่ งอกตามแรงดึงดูดของโลก - ระบบรากฝอย (secondary root) เป็นรากที่เกิดมาจากชั้น pericycle รากที่แตกออกมามีขนาดเท่า ๆ กัน มักช่วยค้ำจุนในพืชที่มีระบบรากแก้วไม่แข็งแรง และช่วยยึดผิวดินไม่ให้พังทลาย - รากพิเศษ (Adventitious root) เป็นรากที่ออกตามข้อของลำต้น และเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่เฉพาะอื่น ๆ

Adventitious root แบ่งเป็น Buttress root เป็นรากพิเศษเกิดจากโคนต้นส่วนที่อยู่ใกล้ระดับดินเจริญขยายออกลงไปจนถึงระดับดินเป็นปีกสันที่บริเวณโคนต้น ทำหน้าที่ค้ำจุนลำต้นให้มั่นคงแข็งแรงขึ้น เช่น ตะแบก งิ้ว นุ่น มักเกิดกับไม้ใหญ่ (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

Prop root เป็นรากพิเศษเกิดจากส่วนโคนต้นเหนือพื้นดินเจริญลงสู่พื้นเพื่อทำหน้าที่พยุงหรือค้ำจุนลำต้นและกิ่งก้าน นอกจากนี้ยังช่วยหาอาหารด้วย เช่น ไทร เตย ข้าวโพด มักเกิดกับไม้พุ่ม หรือไม้ยืนต้นที่แผ่กิ่งก้านมาก (Botany and Introduction to Plant Biology 5th edition ; 1974) (กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืช ; 2543)

(กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืช ; 2543) Pneumatophore (aerial root) เป็นรากแขนงของพืชชายเลนบางชนิด เช่น โกงกาง แสม ลำพู ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนอากาศหรือช่วยในการหายใจของพืช

Storage root เป็นรากที่ขยายตัวออกและมีเนื้อเยื่อเก็บสะสมอาหาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต เช่น แป้งและน้ำตาลซูโครส พืชที่มีรากแก้วสะสมอาหาร ได้แก่ มันเทศ แครอท ลักษณะเป็นแบบ conical

ลักษณะเป็นแบบ napiform

ลักษณะเป็นแบบ fasical (เภสัชพฤกษ์ ; 2544)

Climbing root เป็นรากอากาศอีกชนิดหนึ่ง ที่ยึดลำต้นให้ติดกับกำแพง รั้ว หรือต้นไม้อื่น