การลำเลียงผ่านเมมเบรน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
หินแปร (Metamorphic rocks)
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases.
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
โครโมโซม.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
การทดลองที่ 5 Colligative property
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
Virus.
Emulsifying Agent.
โพรโทซัว( Protozoa ).
Protein.
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Chemical Properties of Grain
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
7.Cellular Reproduction
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
whey เวย์ : casein เคซีน
Station 15 LE preparation and ESR
ประเภทของสารเคมีและคุณสมบัติ สารเคมีฆ่าแมลง (Insecticide) คือสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมแมลงรวมถึงสารประกอบอื่น ซึ่งสามารถทำลายแมลงได้โดยปกติรู้จักกันในชื่อ.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
Triacylglycerol สารประกอบที่มีองค์ประกอบในรูปนี้ มีชื่อว่าอะไร
สารประกอบ.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
Properties and Classification
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
การจำแนกประเภทของสาร
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
Facies analysis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
Kingdom Plantae.
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลำเลียงผ่านเมมเบรน Biological membrane Biological membrane หมายถึง เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane) รวมถึงเมมเบรนที่ห่อหุ้ม ออร์กาแนลภายใน เช่น คลอโรพลาสต์ ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส แวคคิโอล (tonoplast) และไลโซโซม ในบทนี้จะเน้นถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและกระบวนการลำเลียงผ่าน plasma membrane

การลำเลียงผ่านเมมเบรน TRANSPORT ACROSS MEMBRANE

การลำเลียงผ่านเมมเบรน TYPICAL PLANT CELL

บทบาทของเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane) มีความบางมาก (6-10 nm.) ปฏิกิริยาเคมีมากมายที่จำเป็นต่อชีวิตเกิดขึ้นได้เพราะการมีเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้เซลล์สามารถรักษาสภาพแวดล้อมภายในเซลล์ให้เหมาะสมได้ เยื่อหุ้มเซลล์มีบทบาทหลายประการเช่น  เป็นพื้นที่ทำงานของปฎิกิริยาชีวเคมีมากมาย รับข้อมูลให้เซลล์รับรู้ถึง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายนอกเซลล์ และทำให้ เซลล์ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้  ประสานการติดต่อและสื่อสารกับเซลล์อื่นๆ  ควบคุมการเคลื่อนเข้า-ออกของสารต่างๆ

โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ Model ที่อธิบายถึงโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยอมรับกันมากที่สุดในขณะนี้คือ Fluid Mosaic Model ซึ่งกล่าวว่า เยื่อหุ้มเซลล์ประกอบด้วยชีวโมเลกุล 3 ชนิด คือ 1. ไขมัน 2 ชั้น (phospholipid bilayer) มีลักษณะค่อนข้างเหลว ไหลไปมาได้ ส่วนนี้คือส่วนที่เรียกว่า “fluid” 2. โปรตีน - peripheral membrane protein - integral membrane protein โปรตีนส่วนนี้มีบทบาทแตกต่างกันมากมาย เป็นส่วนที่เรียกว่า “mosaic” 3. คาร์โบไฮเดรต ส่วนใหญ่เป็น oligosaccharides คาร์โบไฮเดรตที่เกาะติดกับโปรตีน เรียกว่า glycoproteinคาร์โบไฮเดรตที่เกาะติดกับไขมัน เรียกว่า glycolipid

รูปที่ 1 โครงสร้างของ plasma membrane Glycoprotein Carbohydrate Extracellular Fluid Glycolipid Phospholipid{ Cytoplasm

รูปที่ 2 a) ส่วน hydrophilic head (phosphate group) ละลายได้ในน้ำ จึงหันเข้าหาน้ำ และปกป้องส่วนที่เป็น hydrophobic tail (fatty acid) ซึ่งหันหนีจากน้ำ b) ทำให้เกิดการเรียงตัวของชั้น ไขมันเป็น 2 ชั้น (phospholipid bilayer) ซึ่งเหมาะสมกับบทบาทของเมมเบรน

รูปที่ 2 PHOSPHOLIPIDS a) ส่วน hydrophilic head (phosphate group) ละลายได้ในน้ำ จึงหันเข้าหาน้ำ และปกป้องส่วนที่เป็น hydrophobic tail (fatty acid) ซึ่งหันหนีจากน้ำ b) ทำให้เกิดการเรียงตัวของชั้น ไขมันเป็น 2 ชั้น (phospholipid bilayer) ซึ่งเหมาะสมกับบทบาทของเมมเบรน

FLUID MOSAIC MODEL รูปที่ 3 CARBOHYDRATE PERIPHERAL PROTEIN INTEGRAL PROTEIN CHOLESTEROL CARBOHYDRATE PHOSPHOLIPID BILAYER

รูปที่ 4 โปรตีนใน phospholipid bilayer

การเคลื่อนที่ของสารผ่านเมมเบรน ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ภายในเซลล์จะเกิดได้ในสภาพที่เป็นสารละลายและการที่สารใดสารหนึ่งจะเคลื่อนเข้าเซลล์ได้ สารนั้นต้องละลายได้ในของเหลว เช่น เมื่อผสมกลูโคสกับน้ำ ผลึกของแข็งของกลูโคสจะละลายได้ และกระจายทั่วของเหลว กลายเป็นสารละลาย (solution) ซึ่งมีของเหลว (น้ำ) เป็นตัวทำละลาย (solvent) และมีกลูโคสเป็นตัวถูกละลาย (solute) สารใดละลายได้ในของเหลวจัดว่า soluble สารใดที่ไม่ละลายในของเหลวจัดว่า insoluble การเคลื่อนที่ของสารภายในสารละลายและการเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เมมเบรน) มีความสำคัญต่อการทำงานของเซลล์

การเคลื่อนที่ของสารผ่านเมมเบรน