งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases

2 กานพลู ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eugenia caryophyllus (Spreng.)
Bullock & Harrison ชื่อพ้อง : E. caryophyllata Thunb Eugenia aromatica Kuntze Syzygium aromaticum (L.) Merr. & Perry ชื่อวงศ์ : Myrtaceae ชื่ออังกฤษ : Clove, Clove tree ชื่ออื่นๆ : ดอกจันทน์ (Dok-chan) (เชียงใหม่) จันจี่ (เหนือ) ถิ่นกำเนิด : อินโดนีเซีย มาเลเซีย อินเดีย

3 กานพลู รูปที่1 ลักษณะดอกแห้ง ดอกสด และ ต้นของกานพลู
ที่มา : มูลนิธิสุขภาพไทย  ; พรชัย  2550 และ Kyozaburo Nakata    

4 องค์ประกอบที่พบในน้ำมันหอมระเหยกานพลู
Eugenol รูปที่ 2. โครงสร้างทางเคมีของ Eugenol ที่มา : Web Wikimedia

5 กลไกการออกฤทธิ์ของสาร eugenol ต่อเชื้อจุลินทรีย์
eugenol : ขัดขวางการละลายของชั้นไขมันใน cytoplasmic membrane กลุ่ม hydroxyl (OH group) : ยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ทำให้โปรตีนภายในเซลล์รวมตัวกัน

6 การใช้น้ำมันหอมระเหยกานพลูทดสอบการยับยั้ง การเจริญของเชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืช
1 เกษม และ วิจัย (2528) : สมุนไพร 10 ชนิดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืช ตารางที่ 1 การแสดงค่า EC 50 ของกานพลูที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา ชนิดของเชื้อรา กานพลู (ppm) Phytophthora sp. <20,000 Pythium aphanidermatum (Eds,)Fitz 25,000 Ceratocystis paradosa Ellis & Halst. Alternaria alternata (Fr.) Keissler 33,100 Colletotrichum dematium (Pers. Ex Rr. )Grove. >100,000 Fusarium solani (Mart.)Sacc.Emend Snyd. &Hans. 46,000 Melanconium fuligineum (Scrib. & Viala) Gav. 74,000 Sclerotium rolfsii sacc. ที่มา ดัดแปลงจาก เกษม และ วิจัย (2528 )

7 2 Wilson และคณะ (1997) ทดสอบการยับยั้งการงอกของสปอร์ของเชื้อ Botrytis cinerea สาเหตุโรคผลเน่าของผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว น้ำมันหอมระเหยกานพลูสามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ตั้งแต่ความเข้มข้น 0.78 % ที่เวลา 24 ชม.

8 ที่มา : ดัดแปลงจากรวีวรรณ (2542)
3 รวีวรรณ (2542) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อColletotrichum gloeosporioides กานพลู + PDA ยับยั้งเชื้อราได้ 100 % ในระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 1,000 ppm เป็นต้นไป ตารางที่ 2 กรรมวิธีการทดลองและผลการทดลอง กรรมวิธีการทดลอง ความเข้มข้น (ppm) ขนาดแผล (cm.) ขนาดแผลชุดควบคุม (cm.) ฉีดพ่น 500 1.38 1.83 1,000 1.70 2,000 อบไอระเหย 5,000 1.22 - แช่ผล (ก่อนการฉีดพ่นเชื้อ) 1.74 1.73 3,000 1.68 แช่ผล (หลังการฉีดพ่นเชื้อ) 0.68 1.35 0.71 ที่มา : ดัดแปลงจากรวีวรรณ (2542)

9 4 ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อ Trichoderma harzianum สาเหตุราเขียวในถุงเห็ด
PDA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm ผลการทดสอบ รูปที่ 3. การเจริญของเชื้อรา T. harzianum บน PDA ผสมผงกานพลู ที่ระดับความเข้มข้น 0 (ชุดควบคุม) และ 3000 ppm ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

10 ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อ Trichoderma harzianum ( ต่อ)
PDA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm ผลการทดสอบ e a รูปที่ 4 ลักษณะของสปอร์ T. harzianum เมื่อทดสอบกับกานพลู เป็นเวลา 24 ชั่วโมง (x 300 ) ชุดควบคุม (a) กานพลูที่ระดับความเข้มข้น ต่ำสุดที่ยับยั้งการงอกของสปอร์ T. harzianum ( 2,000 ppm ) (e) ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

11 ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อสปอร์ของ Cercospora cruenta Oidium sp
ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อสปอร์ของ Cercospora cruenta Oidium sp. และ Uromyces vignae สาเหตุโรคใบจุด ราแป้ง และราสนิม แบ่งเป็น 3 การทดลองดังนี้ 1 การทดลองในห้องปฏิบัติการ 2 ในกระถาง 3 แปลงปลูก

12 ผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ
อาหาร WA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm a c e f b d รูปที่ 5 ลักษณะการงอกของสปอร์ C. cruenta Oidium sp. U. vignae บนอาหาร WA ผสมกานพลู ที่ 0 ppm และความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ 100 % a , b = C. cruenta ที่ความเข้มข้น 0 และ 2,000 ppm c , d = Oidium sp. ที่ความเข้มข้น 0 และ 500 ppm e , f = U. vignae ที่ความเข้มข้น 0 และ 500 ppm ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

13 ผลการทดสอบในกระถาง ฉีดพ่นกานพลูก่อนปลูกเชื้อ ความเข้มข้น 3,000 และ 6,000 ppm ฉีดพ่นกานพลูหลังปลูกเชื้อ ความเข้มข้น 3,000 และ 6,000 ppm ผล : ชุดที่ปลูกเชื้อก่อนการฉีดพ่นกานพลูเกิดโรครุนแรงกว่าหลังปลูกเชื้อ ระดับความรุนแรงของโรคเท่ากับ 2.5 ทั้งสองระดับความเข้มข้น

14 ผลการทดสอบในแปลงปลูก
ฉีดพ่น+กานพลู ความเข้มข้น 6,000 และ 3,000 ppm มีระดับความรุนแรงของโรคเท่ากับ และ ตามลำดับ ในแต่ละโรค ตารางที่ 3 ผลการทดสอบในแต่ละความเข้มข้น ความเข้มข้ม(ppm) จำนวนฝัก /ไร่ (ฝัก/ไร่) น้ำหนัก/ไร่ ( กก. /ไร่) 3,000 135,194 2,697.00 6,000 156,585 2,929.90 ที่มา : ดัดแปลงจากปริศนา (2548)

15 5 สายชล และสมบัติ (2550) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อรา Fusarium moniliforme ใน เมล็ดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 PDA + กานพลู ที่ความเข้มข้น และ 500 ppm ผลการทอสอบ น้ำมันกานพลูยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้ 100 % ที่ความเข้มข้น 400 ppm เป็นต้นไป

16 สายชล และสมบัติ (2550) (ต่อ)
การศึกษาในระยะกล้า แบ่งการทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือ ทำการทดลองบนกระดาษชื้น ( bloter plate ) นำไปเพาะในดินอบฆ่าเชื้อ ที่มา : Kyozaburo Nakata

17 ผลการทดลองบนกระดาษชื้น ( bloter plate )
น้ำมันกานพลูให้ความงอกของเมล็ดสูงถึง 99 % ลดเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อของเมล็ด เมล็ดมี % การติดเชื้อ = 13.50 ชุดควบคุมเมล็ดมี % การติดเชื้อ = แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ ลดจำนวนต้นกล้าผิดปกติได้ดีที่สุดด้วย

18 ผลการทดลองในดินอบฆ่าเชื้อ
น้ำมันกานพลูลดเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อของเมล็ด เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดในกระถาง = % ตารางที่ 4 ผลการทดลอง ตัวชี้วัด น้ำมันกานพลู ชุดควบคุม ความยาวลำต้น (cm.) 29.43 27.42 ความยาวราก (cm.) 11.89 7.85 น้ำหนักสด (g.) 3.87 3.24 น้ำหนักแห้งของต้นกล้า (g.) 0.66 0.52 ที่มา : ดัดแปลงจากสายชล และสมบัติ (2550)

19 สรุป สามารถควบคุมจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืช โดยมีสารที่มีฤทธิ์ควบคุม คือ eugenol ซึ่งพบถึง 80 % จากองค์ประกอบทั้งหมด สามารถควบคุมได้หลายชนิดทั้งโรคก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว เช่น Botrytis cinerea Fusarium moniliforme และ Colletotrichum gloeosporioides เป็นต้น การนำมาใช้กับผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวมีศักยภาพค่อนข้างสูง ในห้องปฏิบัติการน้ำหอมระเหยกานพลูสามารถควบคุมการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืชได้ 100 % ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 400 ppm ขึ้นไป การใช้ในสภาพแปลงยังต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม

20 โดย นางสาวสุภาพร ทองมา
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทร


ดาวน์โหลด ppt น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google