CHAPTER 17 FOURIER SERIES
Periodic Signals Periodic signals โดย ดร. รังสรรค์ ทองทา
Amplitude-Phase Form เราสามารถเขียน Fourier series ได้หลายรูปแบบ เช่น โดย Amplitude Phase ดร. รังสรรค์ ทองทา
Circuit Applications ถ้าวงจรที่เราสนใจเป็นวงจรเชิงเส้น (linear circuit) ซึ่งเราสามารถใช้ superposition ได้ โดยถ้า แล้ว ดร. รังสรรค์ ทองทา
เราทราบว่า ถ้าเรามี input และระบบมี transfer function เราจะได้ ซึ่งกล่าวได้ว่า ถ้าเราผ่านสัญญาณ cosine ความถี่หนึ่งเข้าไปในระบบเชิงเส้น แล้วเราจะได้สัญญาณขาออกที่มีขนาดที่คูณด้วยขนาดของ transfer function ณ ความถี่นั้น และมี phase ที่บวกด้วย phase ของ transfer function ณ ความถี่นั้นเช่นกัน ดร. รังสรรค์ ทองทา
ดังนั้นถ้าสัญญาณ input ของเรามีค่าเป็น เราจะได้ว่า นักศึกษาควรดู Example 17.6 และ 17.7 หน้า 778-779 ประกอบ ดร. รังสรรค์ ทองทา
Average Power and RMS Values Root Mean Squared (RMS) values คือ รากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของสัญญาณที่เราสนใจ ค่า RMS ของสัญญาณจะเป็นค่าคงที่ และจะก่อให้เกิด power เท่ากับกำลังของแรงดัน DC ที่มีค่าเท่ากัน ดังนั้น average power ดร. รังสรรค์ ทองทา
การหาค่า RMS ของสัญญาณ อาจจะหาโดยตรงจากสัญญาณนั้นในเชิงเวลา หรือจะหาจาก ดร. รังสรรค์ ทองทา
สรุป เราสามารถใช้ Fourier series ในการช่วยวิเคราะห์วงจร เช่น ในการหา output เมื่อกำหนด input และ transfer function มาให้ สัญญาณ input ที่กำหนดมาให้ จำเป็นต้องเป็นสัญญาณเชิงคาบ (periodic) และวงจรที่กำหนดมาให้ จำเป็นต้องเป็นวงจรเชิงเส้น หากสัญญาณไม่เป็นสัญญาณเชิงคาบ เราจำเป็นต้องใช้เทคนิค Fourier transform มาช่วย ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป ดร. รังสรรค์ ทองทา