ENCODER.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
บทที่ 4 สื่อบันทึกข้อมูล
RAM (Random Access Memory)
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
Ultrasonic sensor.
นางสาวคนึงนิจ พิศณุวรเมท คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ
Magnetic Drum (ดรัมแม่เหล็ก) น.ส.พิชญา พงศ์พัฒนกิจโชติ รหัส
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
DS30M DUAL FEED GUN.
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ระบบกลไก.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
Touch Screen.
หม้อแปลง.
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด ลิ้นอย่างอัจฉริยะ(VVT-I : VARIABLE VALVE TIMING-INTELLIGENCE) ระบบการเปลี่ยนแปลงจังหวะการเปิด-ปิด.
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
งานเครื่องล่างรถยนต์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
การหักเหของแสง (Refraction)
Floppy Disk by : น. ส. พัชรินทร์ อุดมชัยเดช
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
Stepper motor.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
หลักการบันทึกเสียง.
ระบบเซนเซอร์ป้องกันล้อล็อกขณะเบรก ผู้จัดทำ นาย ศุภโชค หนองโศรก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ENCODER

อุปกรณ์ป้อนกลับ (Feedback Device) ENCODER อุปกรณ์ป้อนกลับ (Feedback Device) นิยมเรียกว่า “เอนโค้ดเดอร์ (Encoder)” องค์ประกอบสำคัญในระบบขับเคลื่อน ระบบขับเคลื่อนเซอร์โวมอเตอร์ ระบบขับเคลื่อนไฟฟ้าแบบเอซี (Close loop)

หน้าที่ของ Encoder ตรวจวัดความเร็วรอบ (Speed) ทิศทางการหมุนของมอเตอร์ (Direction of Rotation) ตำแหน่ง / มุมของการหมุน จำนวนรอบของการหมุน

ชนิดของ Encoder แยกประเภทได้ 2 กลุ่ม ทำงานด้วยหลักการเหนี่ยวนำ / Analog Encoder ทำงานด้วยหลักการดิจิตอล / Digital Encoder

Analog Encoder เทคโคเจนเนอเรเตอร์ (Tacho Generator) รีโซลเวอร์ (Resolver)

Tacho Generator เจนเนอเรเตอร์ขนาดเล็ก แปลงความเร็วรอบมาเป็นแรงดันไฟฟ้า ENCODER Tacho Generator เจนเนอเรเตอร์ขนาดเล็ก แปลงความเร็วรอบมาเป็นแรงดันไฟฟ้า สำหรับควบคุม 0 – 10 v. เพื่อป้อนกลับไปยังชุดไดรฟ์ นิยมใช้ในระบบดีซีไดรฟ์

Resolver ใช้งานมากในระบบเซอร์โว มีความแข็งแรง / ทนทาน ENCODER Resolver ใช้งานมากในระบบเซอร์โว มีความแข็งแรง / ทนทาน ทนต่อสภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมได้ดี ลักษณะคล้ายหม้อแปลงตัวเล็ก อาจเรียกว่า “Rotary Transformer”

ENCODER Resolver

โครงสร้าง/การทำงานของ Resolver ENCODER โครงสร้าง/การทำงานของ Resolver ลักษณะคล้ายกับมีหม้อแปลง 2 ชุด ชุดแรกรับสัญญาณอ้างอิง ความถี่สูงย่าน 2 – 10 kHz เพื่อสร้างแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำให้ เกิดกระแสไหลไปสร้างสนามแม่เหล็กให้กับขดลวดชุดที่สอง มีขดลวดปฐมภูมิที่ติดกับโรเตอร์ 1 ชุด มีขดลวดทุติยภูมิ 2 ชุด วางทำมุมกัน 90 องศา เรียกว่า ขดลวด sine และ cosine

โครงสร้าง/การทำงานของ Resolver (ต่อ) ENCODER โครงสร้าง/การทำงานของ Resolver (ต่อ) สัญญาณทั้งสองจะถูกป้อนกลับคอนโทรลเลอร์ แปลงสัญญาณเป็นสัญญาณดิจิตอล โดย Resolver-to-digital convertor (RDC) มีจำนวนช่วง 1,000 – 4,000 พัลส์ ต่อการหมุน 1 รอบ

ENCODER Digital Encoder Incremental Encoder Absolute Encoder

ส่วนประกอบเบื้องต้น Digital Encoder

ส่วนประกอบเบื้องต้น Digital Encoder เพลา (Shaft) ใช้สำหรับต่อเข้ากับวัตถุที่หมุน แผ่นดิสก์ (Code หรือ Pulse Disc) เป็นแผ่นที่มีแทร็กทั้งส่วนที่โปร่งแสงและทึบแสง เพื่อให้แสง LED ผ่านได้ Photodetector ใช้รับแสงเพื่อแปลงเป็นรหัสข้อมูล

หลักการทำงานของ Digital Encoder แสง LED จะส่องผ่านเลนส์ (Convex lens) ปรับโฟกัสให้ลำแสงขนานกัน ให้ลำแสงส่องผ่านแทร็กหรือร่องเล็กๆ บน Disc

Incremental Encoder แสงที่ผ่าน Disc จะแยกเป็น 2 ส่วน มีเฟสต่างกันอยู่ 90 องศา เรียกแสงเดิมว่าเฟส A และลำแสงใหม่ว่า เฟส B แสงนี้จะส่องผ่านไปที่ Photo didode 2 ตัว แปลงสัญญาณที่ได้รับนี้เป็น Square wave สามารถต่อเข้ากับ PLC และเคาท์เตอร์ เพื่อแสดงตำแน่ง / ความเร็ว / ทิศทาง / จำนวนรอบ ค่าข้อมูลจะสูญหายเมื่อไฟดับ

สัญญาณ Incremental Encoder

สัญญาณ Incremental Encoder

Absolute Encoder ใช้เทคโนโลยีสูงกว่า ไม่ได้มีแค่ track โปร่งแสงกับทึบแสง มีร่องหลายแถวที่ใช้แทนค่าโค้ดไบนารี่ แต่ละแถวแทนโค้ดไบนารี่ 1 บิต แต่ละช่องที่โปร่งแสงกับทึบแสงจะแสดง ON/OFF แต่ละแถวจะทำงานเหมือน Incremental แต่เป็นอิสระตากกัน ให้สัญญาณเป็นโค้ดไบนารี่สำหรับแต่ละองศา ค่าข้อมูลไม่สูญหายเมื่อไฟดับ

ENCODER Absolute Encoder

ENCODER Absolute Encoder

เลขไบนารี่สำหรับ Absolute Encoder เลขไบนารี่ที่ใช้ มีอยู่ 2 แบบ คือ รหัสไบนารี่ (Binary code) รหัสเกรย์ (Gray codeX

Binary code ใช้รหัสไบนารี่แทนตำแหน่งของเพลาที่หมุน 360 องศา ENCODER Binary code ใช้รหัสไบนารี่แทนตำแหน่งของเพลาที่หมุน 360 องศา จำนวน sector = ( 𝟐 จำนวนบิต ) แต่ละ sector จะเป็นช่วงละ 𝜽=𝟑𝟔𝟎/( 𝟐 จำนวนบิต )

Binary code Example : Encoder 3 bits ENCODER 𝜽= 𝟑𝟔𝟎 𝟐 𝟑 =𝟒𝟓° 𝒔𝒆𝒄𝒕𝒐𝒓= 𝟐 𝟑 =𝟖 𝒔𝒆𝒄𝒕𝒐𝒓 𝜽= 𝟑𝟔𝟎 𝟐 𝟑 =𝟒𝟓°

ENCODER Binary code

ข้อเสียของ Binary code ENCODER ข้อเสียของ Binary code การเปลี่ยนแต่ละ sector สัญญาณเปลี่ยนแปลงมากกว่า 1 ช่อง หากมีสัญญาณรบกวนหรือสายหายค่าตำแหน่งจะต่างกันมาก จึงไม่เป็นที่นิยม เช่น encoder อยู่ที่ 011(3) มีสัญญาณรบกวนที่บิต 2 encoder จะแสดง 111(7) หรือ

ตัวอย่าง เช่น encoder อยู่ที่ 011 มีค่าเป็น 3 มีสัญญาณรบกวนที่บิต 2 ให้ส่งค่า ON encoder จะแสดง 111 ซึ่งมีค่าเป็น 7 ค่าที่อ่านได้จะแตกต่างมากเกินไป ไม่สามรถนำไปใช้งานได้ อาจก่อให้เกิดข้อผิดพลาดมาก

ตัวอย่าง พิจารณา เลข 3 = 011 เลข 4 = 100 ENCODER ตัวอย่าง พิจารณา เลข 3 = 011 เลข 4 = 100 เลขเปลี่ยนค่าเดียว แต่เลขไบนารี่เปลี่ยนทั้งสามหลัก ไม่สามารถทำให้คอนโทรเลอร์ตรวจสอบได้เมื่อมีเลขผิดปกติ

Gray code หลักการทำงานเหมือนกันกับ Icremental ENCODER Gray code หลักการทำงานเหมือนกันกับ Icremental แก้ไขการแสดงค่าโดยใช้ Gray code รหัสตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ค่าบิตจะเปลี่ยนแปลงเพียงบิตเดียว

ENCODER Gray code