เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Lab 1. การเก็บตัวอย่าง และการจำแนกชนิดวัชพืช
การศึกษารายกรณี.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
คำถามทบทวนวิชา
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
Artificial Intelligence (AI)
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
แนวทางการปรับปรุงพันธุ์พืชใน Holland
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
การสืบพันธุ์ของพืช.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ปลาหางนกยูง.
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช

ความแตกต่างระหว่างพืชผสมตัวเอง และพืชผสมข้าม ลักษณะ พืชผสมตัวเอง พืชผสมข้าม ให้ลูกหลาน ลักษณะเหมือนเดิมหรือคงที่ ลักษณะแตกต่างจากพ่อแม่ การเสื่อม-ลดถอยของลักษณะจาก inbreeding ไม่มี มี การผสมตัวเองไม่ติด ความแข็งแรงเหนือพ่อแม่ (heterosis) อาจไม่แสดง แสดง เป้าหมาย พันธุ์แท้ ลูกผสม

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืช วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง ผสมพันธุ์ หรือใช้วิธีอื่น เพื่อให้มีความปรวนแปรทางพันธุกรรม เลือกเฉพาะ genotype ที่ดีจากข้อ 1 เพื่อใช้เป็นพันธุ์ใหม่

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง ขั้นตอนและวิธีการ 1. การนำพืชมาจากแหล่งอื่น 2. การคัดเลือก 2.1 การคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์ (Pure-line Selection) 2.2 การคัดเลือกเป็นหมู่ (Mass Selection) 2.3 การคัดเลือกเป็นกลุ่มพันธุ์ (Clonal Selection)

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง ขั้นตอนและวิธีการ 3. การผสมพันธุ์ 3.1 คัดเลือกพันธุ์แบบบันทึกประวัติ (Pedigree Method) 3.2 คัดเลือกพันธุ์แบบเก็บรวม (Bulk Method) 3.3 คัดเลือกพันธุ์แบบหนึ่งเมล็ดต่อต้น (Single-seed Descent Method) 3.4 วิธีผสมกลับ (Backcross Method)

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง ขั้นตอนและวิธีการ 4. การปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีการกลายพันธุ์ (Mutation Breeding) 5. การผสมระหว่างพืชต่างชนิดหรือสปีชีส์ 6. การเพิ่มจำนวนโครโมโซม (Polyploidy)

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืช วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม ผลิตสายพันธุ์ที่ดี และสามารถผสมกับสายพันธุ์อื่น ๆ ได้ดี ผลิตลูกผสมจากสายพันธุ์เหล่านี้

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม ขั้นตอนและวิธีการ 1. การนำพืชมาจากแหล่งอื่น 2. การคัดเลือก 2.1 การคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์ (Pure-line Selection) 2.2 การคัดเลือกเป็นหมู่ (Mass Selection) 2.3 การคัดเลือกโดยทดสอบรุ่นลูก (Progeny Selection) 2.4 การคัดเลือกซ้ำ (Recurrent Selection)

วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม ขั้นตอนและวิธีการ 3. การผสมพันธุ์ 3.1 การผลิตพันธุ์สังเคราะห์ (Synthetic Variety) 3.2 การผลิตลูกผสม (Hybrid)

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช เทคนิคในการผสมตัวเอง เพื่อให้เกิดพันธุ์แท้ ผลิตสายพันธุ์ - พืชผสมตัวเอง : ปล่อยให้ผสมตัวเอง โดยไม่ต้องควบคุมละออง เกสร เช่น ข้าว ถั่วเขียว มะเขือเทศ ฯลฯ อาจต้องคลุมดอกด้วย ถุงหรือซองกระดาษ เพื่อขจัดการผสมข้ามให้หมด - พืชผสมข้าม : ต้องควบคุมทุกขั้นตอน

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช 2. เทคนิคในการผสมข้าม การผสมข้าม (crossing) คือการนำพืชที่มี genotypes ต่างกันมาผสมกัน 2.1 การตอนดอกตัวผู้ (Emasculation): ดึงดอกตัวผู้ออกจากดอกที่จะใช้เป็นดอกตัวเมีย ก่อนที่ดอกตัวผู้จะปล่อยละอองเกสรออกมา เลือกดอกที่จะผสมหรือบานในวันรุ่งขึ้น

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช 2.1 การตอนดอกตัวผู้ (Emasculation): - การดึงดอกตัวผู้ทิ้ง ใช้กรรไกร/ ปากคีบที่มีปลายแหลม วิธีการขึ้นอยู่กับชนิดพืช การดึง cap ออกเพื่อทำ emasculation ช่อดอกที่เริ่มบาน ช่อดอกที่ emasculate แล้ว

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช 2.1 การตอนดอกตัวผู้ (Emasculation): - การฆ่าละอองเกสรโดยใช้ความร้อน ความเย็น และแอลกอฮอล์ ความร้อน: น้ำอุ่น ~45-48 °ซ เช่น ข้าว ข้าวฟ่าง ความเย็น: ~0 °ซ เช่น ข้าว ข้าวสาลี แอลกอฮอล์: ~57 %

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช 2.1 การตอนดอกตัวผู้ (Emasculation): - การใช้การเป็นหมันของดอกตัวผู้ (male-sterility) ยีนที่ทำให้ตัวผู้เป็นหมันพบในพืชหลายชนิด เช่น ข้าวโพด ข้าว หอม ฯลฯ - การทำให้ดอกตัวผู้เป็นหมันโดยใช้สารเคมีฉีดพ่นที่ดอก เช่น 2,4-D, naphthalene acetic acid (NAA) ฯลฯ

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช 2.2 การผสม เก็บรวบรวมละอองเกสรจากพันธุ์ที่ตั้งใจมาโปรยหรือแตะบน stigma ของดอกตัวเมียที่เตรียมไว้ ละอองเกสรต้องมีชีวิต ลูบช่อดอกของพันธ์พ่อบนช่อดอกของพันธุ์แม่เบา ๆ ใช้พู่กันป้ายละอองเกสรบนช่อดอกของพันธุ์แม่

เทคนิคในการผสมพันธุ์พืช 3. การตั้งหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก (criteria for selection)แล้วแต่ชนิดของพืช และจุดประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์