รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
(Structure of the Earth)
and Sea floor spreading
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
ผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สภาวะ ปกติ เอ นิโญ่ ลา นิญ่า คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม คลื่นมีฐานกว้าง 100 กม. สูงเพียง 1 ม. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ.
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
ไดแอก ( DIAC ) .
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของยุโรป
แผ่นดินไหว Earthquakes
ภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
แผ่นดินไหว (Earthqua ke) ขนาด ( ริกเตอร์ ) ความ รุนแรง ( เมร์กัลลี่ ) น้อยกว่า 3.0 I - II ประชาชนไม่รู้สึก ใช้ชีวิตตามปกติ ตรวจวัดได้เฉพาะ เครื่องมือ.
โลก (Earth).
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค
ดาวพุธ (Mercury).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
Earth’s internal processes กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
ดาวเสาร์ (Saturn).
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
ผู้หาข่าว  นายสีชาด หนุน พระเดช ข่าวความเป็นมา  ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุง ปอร์โตแปรงซ์ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร ( หรือ 16 ไมล์ ) โดยแผ่นดินไหว.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3 นาย ชวลิต โคตา ม. 5/3

แผ่นดินไหว (earthquakes) แผ่นดินไหวคืออะไร แผ่นดินไหวคืออาการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนนี้มีตั้งแต่ที่ มนุษย์ไม่รู้สึกจนถึงขั้นที่เกิดความเสียหายพังทลายของสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น อาคาร บ้านเรือน ถนนหนทาง เขื่อน เป็นต้น สาเหตุของแผ่นดินไหว สาเหตุของแผ่นดินไหวเกิดจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก (earth crust) เนื่องจาก เปลือกโลกมีลักษณะเป็นแผ่น ๆ(plates) เรียงประกอบกันอยู่ เสมือน jigsaw puzzle ประกอบกับภายในโลกมีความร้อนสูงมากก่อให้เกิดกระแสหมุนเวียน (convection) ของแมนเทิล (mantle) การเคลื่อนไหวของเปลือกโลกมี 3 ลักษณะ

1. ชนกัน (convergent plates) 2 1.ชนกัน (convergent plates) 2.แยกหรือปริออกจากกัน (divergent plates) 3.เคลื่อนที่ในลักษณะเสียดสีกัน (transform plates) เมื่อเปลือกโลกเกิดการเคลื่อนไหวไม่ว่าลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือผสมกันจะก่อให้เกิดรอย แตกของเปลือกโลกหรือหิน (fault) และการระเบิดของภูเขาไฟซึ่งจะก่อให้เกิดการสะสมของพลังงานจลน์ (kinetic energy) ในเปลือกโลกบริเวณนั้นและพลังงานนี้จะถูกปลดปล่อยและแปรรูปเป็นพลังงานความร้อนจนกระทั่งหมดและกลับสู่สภาวะสมดุลย์ แต่ในช่วงที่เกิดการสะสมของพลังงานจะเกิดแรงทางธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (tectonic force) และก่อให้เกิดคลื่นแผ่นดินไหว(seismic waves) แพร่ออกไปทุกทิศทุกทางจากจุดแรกที่เกิดการสะสมพลังงานและพลังงานถูกปลดปล่อยออกไป (earthquake focus)

คลื่นแผ่นดินไหวที่แพร่ออกมานี้เองก่อให้เกิดการสั่นสะเทือนและการทำลายเนื่องจาก คลื่นแผ่นดินไหวมีลักษณะการเคลื่อนที่ที่ซับซ้อนหลายระนาบทำให้เปลือกโลกที่คลื่นแผ่นดินไหวเคลื่อนที่ ผ่านเกิดอาการสั่นสะเทือนบิดเบี้ยวหรือพังทลายซึ่งความเสียหายดังกล่าวจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาว่าจะมีขนาดมากน้อยแค่ไหน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นๆที่อาจทำให้เกิดแผ่นดินไหวได้แต่ไม่ได้เป็นสาเหตุที่สำคัญและมี โอกาสเกิดน้อยมาก เช่น อุกาบาตตก การทดลองระเบิดนิวเคลียร์หรือการระเบิดอื่นๆ เป็นต้น

การวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว ความรุนแรงของแผ่นดินไหวสามารถวัดได้ 2 วิธี คือ 1. วัดขนาด (magnitude) ของพลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาซึ่งสามารถคำนวณได้จาก การติดตามลักษณะของคลึ่นแผ่นดินไหวโดยเครื่องวัดแผ่นดินไหว(seismograph) มาตรวัดแบบนี้ เรียก Richter seale มีขนาดตั้งแต่ 1.0 (รุนแรงน้อย) ถึง 9.0 (รุนแรงมาก) 2.วัดความเข้ม (intensity) ของความรุนแรงในการสั่น ณ ที่ใดที่หนึ่งซึ่งจะออกมาใน ลักษณะความรุนแรงของการสั่นที่มนุษย์รู้สึกได้ว่ามากน้อยแค่ไหนหรือความเสียหายของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ มีมากแค่ไหนมาตรวัดแบบนี้เรียก Mercalli seale มีขนาดตั้งแต่ 1-12

แผ่นดินไหวจะเกิดที่ไหนบ้าง เนื่องจากสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวเกิดจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก ดังนั้นบริเวณ ที่จะเกิดแผ่นดินไหวก็จะอยู่บริเวณรอยต่อกันของแผ่นเปลือกโลกต่าง ๆ เช่น บริเวณขอบมหาสมุทร แปซิฟิกโดยรอบ หรือที่รู้จักในนาม“Ring of Fire”บริเวณสันแยกกลางมหาสมุทรแอตแลนติก (Mid-Atlantic Ridge) และแนวบริเวณตั้งแต่ประเทศอินเดีย อิตาลี กรีซ และตุรกี