บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

คนที่มีความสุขที่สุดในโลก
แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
การเขียนผลงานวิชาการ
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development)
การดู.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ขอบเขตการศึกษาของญาณวิทยา (epistemology)
ญาณวิทยาของ อิมมานุเอล คานต์
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
สถาบันการศึกษา.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
วิธีคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์อย่าง มีไอเดียแบบเฉพาะตัว
กิจกรรมนันทนาการ.
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ใจที่ไม่เปิดเผื่อรับฟัง มองไม่เห็นซึ่งหนทางการพัฒนา                                                                                                                                                                   
( Organization Behaviors )
สุขภาพจิต และการปรับตัว
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
5.1 เหตุผลนิยม 5.2 ประสบการณ์นิยม 5.3 สัญชาตญาณนิยม 5.4 พระพุทธศาสนา
(Organizational Behaviors)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
การพัฒนา หลักสูตร ชุมชน. สามารถจัดทำ หลักสูตร ชุมชนได้
การคิดเพื่อความสำเร็จในชีวิต
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การปลูกพืชผักสวนครัว
ปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษ (Dialectical Materialism)
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การอ่านเชิงวิเคราะห์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ทฤษฎีการเรียนรู้เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด
บทบาทของข้อมูลการตลาด
อาหารใน ชีวิตประจำวัน
การนอนหลับและการ ฝัน จิตต้องการพักผ่อน ปิดประตูประสาทสัมผัส ไม่มี ความรู้สึกนึกคิดใด ๆ เรียกว่า “ ภวังคจิต ”
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์ บ่อเกิด / ที่มา จุดเริ่มต้น เหตุผล+ประสบการณ์

ญาณวิทยาในสำนักประสบการณ์นิยม ความหมายและความเป็นมาของประสบการณ์นิยม ลักษณะของความรู้แบบประสบการณ์นิยม ทรรศนะของนักปรัชญาประสบการณ์นิยม

ความหมายและความเป็นมา ของประสบการณ์นิยม ความหมายและความเป็นมา ของประสบการณ์นิยม ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ตรง หรือที่สืบเนื่องมาจากประสบการณ์เท่านั้นจึงจะถือได้ว่าจริง และใช้ประสบการณ์เป็นมาตรการตัดสินความจริง คนเราจะมีความรู้ได้ ต้องอาศัยประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตโดยตรง

ลักษณะของความรู้แบบประสบการณ์นิยม ความรู้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังประสบการณ์ (Priori) ความรู้เกิดจากประสาทสัมผัส (Sensation) ความรู้เป็นเพียงบางส่วน (Particular) ความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ (Contingent) ความรู้เป็นการสังเคราะห์ (Synthetic)

มนุษย์เกิดมาพร้อมด้วยสมองที่ว่างเปล่า ไม่มีความคิด ไม่มีความรู้ เริ่มมีความรู้ เพราะได้รับจากประสบการณ์ โดยอาศัยอินทรียสัมผัสทั้ง 5 ทารกรู้จักความร้อนของไฟ เพราะมีประสบการณ์ตรงกับไฟ

ทรรศนะของนักปรัชญาประสบการณ์นิยม จอห์น ล็อค (John Lock 1632-1704) ประสบการณ์มี 2 ประเภท คือ 1.ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส 2.ประสบการณ์ทางจิตใจ ได้แก่ การคิดทบทวน เรารู้สิ่งภายนอกโดยอาศัยประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส และรู้สิ่งที่อยู่ภายในจิตของเราโดยอาศัยการคิดทบทวน ไม่มีความคิดชนิดใดที่ไม่ได้มาจากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส

จิตเป็นสภาพที่อยู่เฉย ๆ (Passive) ในขณะที่รับประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส จิตเริ่มทำหน้าที่ (Active) ในการเปรียบเทียบสิ่งที่ได้รับจากการสัมผัสแล้วรวมกันให้เป็นความคิดซับซ้อน จนเกิดเป็นความคิดเชิงเดี่ยว (มโนภาพเชิงเดี่ยว) จิต จิต ประสบการณ์ ACTIVE PASSIVE

ความรู้ คือ การรับรู้ (perception) โลกภายนอก โดยผ่านทางมโนคติ (idea) มโนคติ คือ ตัวแทนของวัตถุซึ่งไม่ได้มีอยู่จริงในจิตมนุษย์ แต่เป็นภาพถ่ายของโลกภายนอก ล็อคยอมรับการมีอยู่ของโลกภายนอก แต่เรารับรู้โลกภายนอกโดยตรงไม่ได้ สิ่งที่เรารู้ได้ คือ มโนคติ ที่มาของมโนคติมี 2 ทาง คือ 1) ประสาทสัมผัส (sensation) การรับรู้ข้อมูลจากภายนอก และ 2) การไตร่ตรอง (reflection) เป็นการทำงานของจิต การทำงานของจิตทำให้มโนคติประทับในความเข้าใจ (understanding)

สิ่งที่มนุษย์รู้ คือ มโนคติของคุณภาพ (idea of quality) เราไม่ได้รู้คุณภาพ แต่รู้มโนคติของมัน คุณภาพ หมายถึง อำนาจในการสร้างมโนคติขึ้นในจิต - คุณภาพปฐมภูมิ : คุณสมบัติที่มีอยู่จริงในวัตถุ - คุณภาพทุติยภูมิ : คุณสมบัติที่เรามีประสบการณ์

สสารรู้ได้ด้วยประสบการณ์ จิตรู้ได้ด้วยการคิด พระผู้เป็นเจ้ารู้ได้ด้วยการสาธิตจากสิ่งที่มีอยู่ (อนุมานจากสิ่งที่มีอยู่ในใจ) สสารมี แต่ตัวมันเองรู้ไม่ได้ และไม่สามารถที่จะรู้ได้ เพราะเป็นรากฐานของการกินที่ ปริมาตร รูปร่าง การหยุดนิ่งและการเคลื่อนไหว (คุณภาพปฐมภูมิ) ของสสาร จิตเป็นรากฐานของประสาทสัมผัส แล้วก่อให้เกิดประสบการณ์ทางจิต

ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon : 1561–1626) การทำลายเทวรูปแห่งความคิด (the idol of mind) เทวรูปแห่งถ้ำ เทวรูปแห่งตลาดนัด เทวรูปแห่งโรงละคร เทวรูปแห่งเผ่าพันธุ์ วิธีการแสวงหาความรู้แบบคัดออก (elimination) รายการมี รายการไม่มี รายการยกระดับ

จอร์จ เบิร์กลีย์ (Geoge Berkley 1685-1753)