การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
“แสดงความมุ่งมั่น แบ่งปันการเรียนรู้”
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
K M คือ Knowledge Management
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
องค์กรแห่งการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
Learning Organization & Knowledge Management
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
การสังเคราะห์ (synthesis)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM) บรรยายในวันนัดพบ “ชมรมอยู่ดีมีสุข” ครั้งที่ 2/2551 โดย ศาสตราจารย์ชโลบล อยู่สุข ประธานชมรมฯ 2 เมษายน 2551

ในส่วนการให้ความสำคัญ/การเอาใจใส่ “ด้านคุณภาพชีวิต” ของบุคลากร ชมรม “อยู่ดีมีสุข” เป็นส่วนหนึ่งของการ ดำเนินงานจัดการความรู้ ของคณะวิทยาศาสตร์ ในส่วนการให้ความสำคัญ/การเอาใจใส่ “ด้านคุณภาพชีวิต” ของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์มุ่งหวังสู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning organization; LO) โดยกำหนดวัตถุประสงค์ไว้ใน มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา

ความรู้มี 2 ประเภท ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้เด่นชัด ที่อยู่ในตำรา หรือเป็นทฤษฎี ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ วิเคราะห์ และพิสูจน์มาแล้ว ความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ฝังลึกในตัวคน เห็นไม่ชัด ได้จากการปฏิบัติ เป็นภูมิปัญญา หรือ เคล็ดลับ สะสมจากวิจารณญาณ หรือปฏิภาณ ไหวพริบ ของผู้ปฏิบัติงานแต่ละคน ที่ทำให้งานบรรลุผลสำเร็จ

การจัดการความรู้ประเภท ความรู้ชัดแจ้ง การเข้าถึงความรู้ ในปัจจุบัน สามารถได้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบ Internet เพื่อดูเนื้อหาสาระหรือตัวความรู้ (Content) และองค์ประกอบที่ครอบบริบทเนื้อหาสาระ (Context) ทำการตีความและนำมาปรับใช้โดยเอาบริบทของเราใส่เข้าไปแทน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เรียนรู้ ยกระดับความรู้ เพื่อสร้างความรู้ใหม่ที่ดีขึ้นกว่าเดิม นำไปใช้งานและปรับปรุงเรื่อยๆจนเป็น best practice ในที่สุด รวบรวมความรู้ให้เป็นระบบ หมวดหมู่ เพื่อให้สามารถสืบค้นและเข้าถึงได้ง่าย วนเวียนเรื่อยไป ไม่รู้จบ

การจัดการความรู้ประเภท ความรู้ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่จัดการไม่ง่ายเมื่อเทียบกับการจัดการความรู้ชัดแจ้ง เนื่องจาก เราไม่สามารถบังคับให้ “ใคร” ในองค์กรถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ออกมาได้ ความรู้จึงอาจสูญหายไปพร้อมกับผู้นั้นเมื่อถึงคราวเกษียณอายุจากหน่วยงาน หรือต้องจากองค์กรนั้นไป จึงต้องทำให้คนในองค์กร สร้างความห่วงใย มีใจให้กันและกัน ช่วยเหลือเกื้อกูล และแบ่งปันซึ่งกันและกัน เห็นประโยชน์ของการทำงานร่วมกัน เรียนรู้จากกัน ประสานพลังให้ได้มากกว่าผลรวมของแต่ละคนรวมกัน ให้แต่ละคนไม่ต้องเสียเวลาไปกับการลองผิดลองถูก และสามารถสร้างความรู้ใหม่ จนสามารถเป็น Best Practice ซึ่งไปปรับใช้สำหรับหน่วยงานต่อไป

วงจร 2 วงหมุนไปด้วยกัน เป็นการจัดการความรู้ไม่รู้จบ ( Infinity KM) สรุปแนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน ความรู้ชัดแจ้ง Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge store Capture& Learn Apply / utilize มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น “2T” Tool & Technology วงจร 2 วงหมุนไปด้วยกัน เป็นการจัดการความรู้ไม่รู้จบ ( Infinity KM)

KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง“สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology

KM Model “ปลาทู” KV KS KA แนวทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้ “ไม่ไปผิดทาง” Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกัน และกัน (Share & Learn) KM Model “ปลาทู” Knowledge Vision (KV) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Assets (KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ/CoPs KV KS KA Model ปลาทู

ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลัง จะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า จาก KV สู่ KS ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลัง จะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) จาก KV สู่ KS

มองว่ากำลังจะไปทางไหน จาก KS สู่ KA ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกัน และกัน (Share & Learn) Knowledge Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs จาก KS สู่ KA

การเล่าเรื่องในประเด็น (หัวปลา) ที่เลือกไว้ จัดให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ที่ทำจริง/ตัวจริง .... เรียก คุณกิจ เพื่อสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ ผู้เข้ากลุ่มผลัดกันเล่าความสำเร็จ ความภูมิใจ เล่าสิ่งที่เกิด ขึ้นจริงว่า ทำไมถึงประสบความสำเร็จ หรือสามารถก้าวข้ามพ้นปัญหาที่เคยพบไปได้ รับฟังอย่างไม่มีอคติ ควรมีผู้ทำหน้าที่เอื้ออำนวย .... เรียก คุณอำนวย คอยคุมให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ลื่นไหล ไม่หลงประเด็นหรือออกนอกทาง และเป็นผู้คอยป้อนคำถามเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก เป็นการ “แคะ” tacit knowledge ออกมา

CKO “คุณอำนวย” ต้องไม่ใช่ “คุณอำนาจ” “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” Knowledge Assets (KA) Vision (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT สร้าง CoPs ที่มีพลัง ดุจดั่งปลา“สะบัดหาง” “คุณอำนวย” Knowledge Facilitators ต้องไม่ใช่ “คุณอำนาจ” “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer “คุณกิจ” Knowledge Practitioners CKO

การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ Care & Share / Give & Grow Share & Shine Learn - Care - Share - Shine

… KM เริ่มต้นที่ใจ …เป็นเรื่องของความเชื่อมโยง … เป็นเรื่องของสายใย … เป็นเรื่องของเครือข่าย …เป็นเรื่องของความเชื่อมโยง … ที่มาจากความผูกพันอันมั่นคง KM เริ่มต้นที่ใจ

คุณลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ต้องมีวินัย 5 ประการ (โมเดลของ Peter Senge) มีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision; SV) กำหนดภาพในอนาคตไว้ให้คนในองค์กรเดินไปร่วมกัน โดยไม่หลงทิศ มีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning; TL) ไม่ใช่ต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างเรียนรู้ มีผู้ที่มีใจใฝ่เรียนรู้ (Learning Person; LP) เป็นผู้ที่มุ่งมั่นฝึกฝนพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงสิ่งที่ทำอยู่ตลอดเวลา มีผู้ที่รู้จักพัฒนากรอบความคิด ตระหนักรู้ความคิดของตัวเอง แต่ไม่ยึดติด เปิดรับพร้อมที่จะปรับเปลี่ยน มีผู้ที่คิดได้อย่างครอบคลุมเชื่อมโยงเป็นระบบ คิดได้รอบด้าน เห็นภาพใหญ่ในขณะที่เข้าใจส่วนประกอบย่อยไปพร้อมกัน

KM และ LO สัมพันธ์กันอย่างไร KM = KV + KS+ KA LO = SV + TL + LP KV = knowledge vision, KS = knowledge sharing, KA = knowledge assets SV = shared vision, TL = team learning, LP = learning person

“การจัดการความรู้ ฉบับขับเคลื่อน” โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด การจัดการความรู้ที่ดำเนินมาทั้งหมดภายในองค์กรต้องถือว่าไร้ค่าอย่างสิ้นเชิง หากไม่มีการเพิ่มคุณค่าโดยนำความรู้ที่เก็บอยู่ในคลังความรู้ขององค์กรไปสู่การปฏิบัติ ข้อมูลจาก หนังสือเรื่อง “การจัดการความรู้ ฉบับขับเคลื่อน” โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด สำนักพิมพ์ใยไหม พ.ศ.2550