บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
11. การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบเชิงสัมพันธ์
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ทำความรู้จักและใช้งาน
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
Lecture 10 : Database Documentation
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
MySQL.
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
แบบฝึกหัด 1. จงวาดรูป ER Diagram ของระบบร้านเช่าวีดีโอแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย แฟ้มสมาชิก(member) ข้อมูลที่เก็บ รหัสลูกค้า , ชื่อ , ที่อยู่,เบอร์โทร แฟ้มชื่อเรื่อง(title)
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
Module 2 : จัดทำแผนผังการวิเคราะห์องค์กร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน
Entity Relationship Model
The Relational Data Model
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Data Modeling Chapter 6.
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
ความสัมพันธ์ (Relationship)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
การวิเคราะห์เนื้อหา.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดการฐานข้อมูล.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Entity-Relationship Model
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
งานกลุ่ม กลุ่มที่ 3 เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
Chapter 1 : Introduction to Database System
การกำหนดรหัสของสันแฟ้ม
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล

ความหมายของศัพท์ที่ใช้ ความหมายของศัพท์ที่ใช้   บิต (Bit )  หมายถึง  หน่วยของข้อมูลที่เล็กที่สุด ไบท์  (Byte )  หมายถึง  หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกันเป็นตัวอักษร ฟิลด์  (  Field  )  หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยหลาย ๆ ตัวอักษร  เพื่อแทนความหมายของสิ่งหนึ่ง   เช่น  รหัสพนักงาน  ชื่อ  เป็นต้น เรคคอร์ด (  Record  )  หมายถึง  หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์ มารวมกันเพื่อแสดง รายละเอียด  ข้อมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง  เช่น  เรคคอร์ดหนึ่ง ๆ ของพนักงานประกอบด้วย   ฟิลด์ ต่าง ๆ เช่น   รหัสพนักงาน  ชื่อ  แผนก  เงินเดือน  เป็นต้น แฟ้มข้อมูล (  File  )  หมายถึง  หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาเรคคอร์ดหลาย ๆ เรคคอร์ดมารวมกัน

ความหมายของศัพท์ที่ใช้ ความหมายของศัพท์ที่ใช้   เอนทิตี้ (  Entity  )  หมายถึง  ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจเกี่ยวกับคน  สถานที่  สิ่งของ  การกระทำ  ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้  เช่น  เอนทิตี้พนักงาน  สินค้า  ลูกค้า  การสั่งซื้อ  เป็นต้น แอทริบิวต์  (  Attribute  )  หมายถึง  รายละเอียดขอข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ๆ เช่น  เอนทิตี้พนักงาน  ประกอบด้วย  แอทริบิวต์รหัสพนักงาน  ชื่อ  ที่อยู่  หรือแอทริบิวต์แผนก  ประกอบด้วย  แอทริบิวต์รหัสแผนก  ชื่อ  เป็นต้น ความสัมพันธ์  (  Relationship  )  หมายถึง  คำกิริยาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนทิตี้  เช่น   เอนทิตี้พนักงาน  และเอมทิตี้แผนก  มีความสัมพันธ์ในด้าน  “  ทำงานสังกัดอยู่ ”  นั่นคือพนักงานแต่ละคนทำงานอยู่ในแผนกใดแผนหนึ่ง  เป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลของเอนทิตี้หนึ่งว่า  มีความสัมพันธ์กับข้อมูลอย่างมาก  หรือข้อมูลกับอีกเอนทิตี้หนึ่งในลักษณะที่เป็นหนึ่งต่อหนึ่ง

ตัวอย่าง กำหนดให้  A มีสมาชิก  entity  6  entity  ตามความสัมพันธ์ (a1, a2, a3, a4,a5, a6) และ B มี entity 6 entity ตามความสัมพันธ์  ( b1, b2, b3, b4, b5 ) สมาชิกใน entity A ที่มีความสัมพันธ์กับ entity B จะมีความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งเท่านั้น เช่น กำหนดให้ entity นักศึกษามีความสัมพันธ์กับ entity อาจารย์แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคน จะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษา 1 คน ในทางกลับกันก็คืออาจารย์ที่ปรึกษาหนึ่งคนจะต้องมีนักศึกษาได้ 1 คนซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น นักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา หมายความว่า  entity ใน A มีความสัมพันธ์ กับสมาชิก entity B แบบหนึ่งต่อกลุ่ม เช่น กำหนดให้ entityอาจารย์ที่ปรึกษา มี ความสัมพันธ์กับ entity นักศึกษา แบบหนึ่ง ต่อกลุ่ม  แสดงว่า  อาจารย์หนึ่งคน  สามารถมี นักศึกษาในสังกัดได้มากกว่าหนึ่งคน  แต่ นักศึกษาจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาได้เพียงหนึ่ง คนเท่านั้น

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม  เช่นนักศึกษากับวิชาที่ลงทะเบียนเรียน หมายความว่า  สมาชิกใน  entily  A  มี ความสัมพันธ์กับสมาชิกใน entily  B  แบบ กลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ entily  นักศึกษา  มีความสัมพันธ์ กับ  entily  วิชาที่ลงทะเบียน  แบบกลุ่มต่อกลุ่ม แสดงว่านักศึกษาหนึ่งคนสามารถลงทะเบียน เรียนได้มากกว่า  1  วิชา  และในทำนอง เดียวกัน  วิชาหนึ่งวิชาสามารถมีนักศึกษา ลงทะเบียนเรียนได้หลายคน

รูปแบบของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์  ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์  เป็นการจัดเก็บข้อมูลของเอนทิตี้ในรูปแบบ ของตาราง  ที่มีลักษณะเป็น  2  มิติ  คือ  เป็นแถว   (Row)   และเป็น คอลัมภ์    (Column)   ในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง   จะเชื่อมโยง โดยใช้แอททริบิวต์ที่มีอยู่ในทั้งสองตาราง  เป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล กัน ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้   จะเป็นรูปแบบที่ใช้ในปัจจุบัน

รูปแบบของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น โครงสร้างของฐานข้อมูลแบบลำดับขั้น  เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูล ลักษณะความสัมพันธ์แบบ  พ่อ – ลูก

รูปแบบของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย โครงสร้างของข่ายงานประกอบด้วยประเภทของเรคคอร์ด  และกลุ่ม ของข้อมูลของเรคคอร์ดนั้น ๆ เช่นเดียวกับโครงสร้างของฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์และเชิงลำดับชั้น ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของเรคคอร์ดใน ฐานข้อมูล  เรียกว่า       Set  Type  ซึ่งสามารถแสดงในแผนภูมิ ที่เรียกว่า  Bachman  diagram  อันมีองค์ประกอบดังนี้ 1. ชื่อของ  Set  Type 2. ชื่อของประเภทของเรคคอร์ดหลัก 3. ชื่อของเรคคอร์ดที่เป็นสมาชิก

ใบงานบทที่ 2 1. อธิบายความหมายของศัพท์ที่ใช้ในฐานข้อมูลดังนี้ ใบงานบทที่ 2 1. อธิบายความหมายของศัพท์ที่ใช้ในฐานข้อมูลดังนี้ บิต ไบต์ ฟิลด์ เรคคอร์ด แฟ้มข้อมูล 2. อธิบายความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง อธิบายความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม อธิบายความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม

จบการนำเสนอ