วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
Advertisements

ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
เรียบเรียงโดย อ.พลอยชนก ปทุมานนท์
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
เรื่อง อาหารไทย ๔ ภาค จัดทำโดย
รสชาติอาหารจีน 4 ตระกูล อาหารเสฉวน (川菜-ชวนไช่)
ภูมิปัญญาไทย.
ขนมไทย.
สัปดาห์ที่ 7 : ศิลปะขอมในประเทศไทย (สถาปัตยกรรม)
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.จุฑามาศ มาอินทร์ เลขที่ 27 ม.1/16
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
ภาพกิจกรรม โครงการ การพัฒนา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้เรียน ( อ. ช. ท.) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม - 1 กันยายน 2554.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ที่ตั้ง ตั้งอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งในดินและในน้ำ มีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการทำการเกษตร.
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
จังหวัดสุรินทร์.
Story board.
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Slogan Of the province History Mood &Tone ROIET.
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ โดย .. เอ็ดเวิร์ด เดอโบโน
ปัจจุบันประเทศอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
อาหารพื้นบ้านประจำภาคเหนือ
ดอกไม้ประจำชาติกลุ่มอาเซียน
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
โดย ด.ญ. ชาดา จินะกาศ เลขที่ 25 ม. 2/8 โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
กรุงศรีอยุธยา.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
อาหารไทย.
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
เรื่องดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
อาหารประจำชาติอาเซียน
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)

อาหารประจำชาติ การแต่งกาย ภาษา ดอกไม้ประจำชาติ สถานที่สำคัญ ดนตรี

การแต่งกาย การแต่งกายของชาวกัมพูชาจะนุ่งผ้าซัมปอต (Sompot) เป็นผ้าทอมือ ถือว่าเป็นการ แต่งกายประจำชาติ สำหรับข้าราชการผู้ใหญ่จะนุ่งผ้าโฮลกับเสื้อมีกระดุมสีทอง ในงานพิธีจะนุ่ง ผ้าโจงกระเบน เวลาไปวัดจะนุ่งผ้าม่วง หญิง นิยมนุ่งผ้าถุงสีดำ เนื้อมัน คาดเข็มขัด ใส่เสื้อสี งานพิธีนุ่งผ้ายก พวกในวังมักนุ่งผ้า โจงกระเบน ไว้ผมตัด ทานหมากจนฟันดำ  ผู้ชาย นุ่งผ้าโจงกระเบน ใส่เสื้อคอปิด ขัดกระดุมห้าเม็ด

ภาษา ภาษาเขมร  เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้ มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมร ในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย และภาษาลาว เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต์

สถานที่สำคัญ   นครวัด เป็นศาสนสถานตั้งอยู่ในเมือง พระนคร จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา สร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 โดยเป็นศาสนสถานประจำพระนครของพระองค์ ตัวเทวสถานได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี จนเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญ เพียงแห่งเดียวที่ยังเหลือรอด มาจนถึงปัจจุบันนับตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ

อาหารประจำชาติ  อาม็อก (Amok) อาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกไทย โดยเป็นการนำเนื้อปลาสดๆ มาลวกเครื่องแกง และกะทิ แล้วทำให้สุกโดยการนำไปนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจเลือกใช้เนื้อไก่แทน ส่วนสาเหตุที่คนในประเทสกัมพูชานิยมรับประทานปลา เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของกัมพูชา มีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ปลาเป็นอาหารที่หารับประทานได้ง่ายนั่นเอง

ดอกไม้ประจำชาติ กัมพูชามีดอกไม้ประจำชาติเป็น ดอกลำดวน (Rumdul) ดอกไม้สีขาวปนเหลืองนวล กลีบดอกหนาทึบและแข็งเล็กน้อย มีกลิ่นหอมเย็นแบบกรุ่น ๆ ถูกจัดเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งเพราะมีความหมายถึงความสดชื่นหอมกรุ่น และเป็นดอกไม้สำหรับสุภาพสตรี วิธีปลูกที่ถูกต้อง ต้องปลูกไว้ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวบ้าน ที่สำคัญต้องปลูกใน วันพุธ ด้วยนะ

ดนตรี ศิลปะการดนตรีของกัมพูชาได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู มีนาฏกรรมทางศาสนาและเรื่องเล่าศักดิ์สิทธิ์ การแสดงบางชนิดใช้วงพิณพาทย์ (pinpeat) ที่ประกอบด้วย ฉิ่ง ระนาด ปี กระจับปี่ฆ้อง ซอ และกลองหลายชนิด การเคลื่อนไหวแต่ละท่าจะเป็นแนวคิดแทนสิ่งต่างๆ การฟื้นฟูนาฏศิลป์เกิดขึ้นมากในราว พ.ศ. 2493 โดยพระนางสีสุวัตถิ์ กุสุมนารีรัตน์

เด็กหญิงวาสนา ปานสีสอาด จัดทำโดย เด็กหญิงวาสนา ปานสีสอาด ชั้น ม.2/5 เลขที่ 33