การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
LEARN TO FOCUS ON SOLUTIONS
Low-speed UAV Flight Control System
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
แผ่นดินไหว.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
ระบบสุริยะ (Solar System).
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
(Global Positioning System)
น้ำและมหาสมุทร.
Application of Graph Theory
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ระบบอนุภาค.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
ระบบการสื่อสารดาวเทียม
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กาแล็กซีและเอกภพ.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ดวงจันทร์ (Moon).
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน เทคโนโลยีอวกาศ
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ระบบสุริยะ จักรวาล.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม เสนอ อาจารย์ ปัณณิกา ไยนวล โดย นางสาวเกวลี แสนหลวง เลขที่ 2 นายสุชาติ แซ่เฒ่า เลขที่ 19 นายมงคล ร่มโพธิ์พระคุณ เลขที่ 20 นายประเสริฐ เทิดชัยกียรติ เลขที่ 21 นายไพโรจน์ เลาหาง เลขที่ 22 นายฟุ้งเกียรติ วิสัยทัศนกุล เลขที่ 23

การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม

ยุคสำรวจอวกาศเริ่มอย่างจริงจังเมื่อปี พ. ศ ยุคสำรวจอวกาศเริ่มอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ. 2500 เมื่อสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิก 1 ขึ้นไปในอวกาศ หลังจากนั้นสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิก 1 โดยมีสุนัขตัวเมียขึ้นไปในอวกาศด้วย ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์เข้าสู่วงโคจรของโลกในปี พ.ศ. 2501 ในการส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศขึ้นสู่อวกาศ จะต้องอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง สามารถ เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกที่พยายามดึงดูดมวลทุกอย่างเข้าสู่พื้นโลก ความเร็วของจรวดหรือยานอวกาศที่สามารถเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้เรียกว่า ความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวงโคจร (characteristic velocity)

แบบจำลองของดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์ 1 s แบบจำลองของดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์ 1

แบบจำลองของดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์ 1 ผู้ที่ชูแบบจำลองคนซ้ายคือ ดร. วิลเลียม เอช. พิกเคอริง ประธานเจพีแอล คนกลางคือ ดร. เจมส์ เอ, แวนอัลเลน คนขวาคือ เวอร์เนอร์ ฟอน บราวน์ (ภาพจาก NASA)ในการส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศขึ้นสู่อวกาศ จะต้องอาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง สามารถ เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกที่พยายามดึงดูดมวลทุกอย่างเข้าสู่พื้นโลก ความเร็วของจรวดหรือยานอวกาศที่สามารถเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้เรียกว่า ความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวงโคจร (characteristic velocity) ยิ่งสูงค่าความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวงโคจรมีค่ามากขึ้น ดังตารางต่อไปนี้

ถ้าต้องการให้จรวดสามารถขึ้นสู่อวกาศได้จะต้องขับเคลื่อนด้วยความเร็วมากกว่า 7.91 กิโลเมตร/วินาที แต่ถ้าใช้ความเร็วในการขับเคลื่อน 8.10 กิโลเมตร/วินาที จรวดจะขึ้นไปโคจรในระดับสูง 322 กิโลเมตร เป็นต้นสำหรับดาวเทียมที่ส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกนั้น จะต้องมีความเร็วในการโคจรรอบโลกค่าหนึ่งซึ่งเรียกว่า ความเร็วในวงโคจรที่เป็นวงกลม (circular velocity) ถ้าดาวเทียมมีความเร็วในวงโคจรน้อยไป จะตกลงสู่พื้นโลก แต่ถ้ามีความเร็วในวงโคจรมากเกินไป จะหลุดจากวงโคจรรอบโลกได้ ความเร็วในวงโคจรในแต่ละระดับความสูงจะมีค่าต่างกัน ยิ่งสูงความเร็วในวงโคจรยิ่งลดลง ส่วนเวลาที่ดาวเทียมโคจรรอบโลก 1 รอบ เรียกว่า คาบของการโคจร จะมีค่าเพิ่มขึ้น ดังตาราง

จากตารางจะเห็นว่า ถ้าต้องการให้ดาวเทียมโคจรรอบโลกในระดับต่ำสุด (0 กิโลเมตร) ได้ ดาวเทียมต้องมีความเร็ว 7.91 กิโลเมตร/วินาที และสามารถโคจรรอบโลกครบ 1 รอบในเวลา 1 ชั่วโมง 24.3 นาที แต่ที่ความสูง 161 กิโลเมตรจากพื้นโลก ดาวเทียมต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 7.80 กิโลเมตร/วินาที จึงจะโคจรรอบโลกอยู่ได้โดยไม่ตกลงมาหรือหลุดจากวงโคจรรอบโลก และจะโคจรรอบโลก 1 รอบในเวลา 1 ชั่วโมง 27.7 นาที เป็นต้น

ที่ระดับความสูง 35,880 กิโลเมตร ถ้าดาวเทียมโคจรด้วยความเร็ว 3 ที่ระดับความสูง 35,880 กิโลเมตร ถ้าดาวเทียมโคจรด้วยความเร็ว 3.07 กิโลเมตร/วินาที จะโคจรรอบโลก 1 รอบในเวลา 24 ชั่วโมง ซึ่งเป็นเวลาเท่ากับที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ เรียกวงโคจรนี้ว่า วงโคจรค้างฟ้า ที่ระดับนี้ดูจากโลกเหมือนว่าดาวเทียมจะไม่เคลื่อนที่ แต่จะอยู่บนตำแหน่งเหนือพื้นโลกบริเวณนั้นตลอดเวลา แต่ถ้าต้องการให้จรวดหนีออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ จรวดจะต้องขับเคลื่อนด้วยความเร็วที่มากกว่าเรียกว่า ความเร็วหลุดพ้น (escape velocity) ความเร็วหลุดพ้นจากโลกจะลดต่ำลง เมื่อจรวดอยู่สูงจากพื้นผิวโลก มากขึ้น

ขอบคุณคับ ขอบคุณค่ะ