ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กัมพูชาประชาธิปไตย กัมพูชาประชาธิปไตย.
Advertisements

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง : สิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางสังคม และการปกครองโดยหลักนิติธรรม จัดโดย สถาบันเพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย และ ศูนย์สันติภาพและความขัดแย้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
ระบบเศรษฐกิจ.
หลักเกณฑ์และวิธีการ เสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นกรณีพิเศษ สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
ปฏิญญาหาดใหญ่ (Hatyai Declaration)
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
การค้ามนุษย์.
สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย
อิรัก-อิหร่าน.
สงครามเย็น.
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
สัปดาห์ที่ 4.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานผลการปฏิบัติงาน
สรุปผลการปฏิบัติสหกิจศึกษา สถานประกอบการประเภทหน่วยงานราชการ
สำนักงานคณะกรรมการ การเลือกตั้งประจำจังหวัดปัตตานี
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประสบการณ์การฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สื่อมวลชน สายการเมือง
“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
การส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง การอยู่ร่วมกันโดยสันติ การแก้ไขปัญหาขัดแย้งโดยสันติวิธี การสร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความ.
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
วัฒนธรรมและพหุวัฒนธรรมศึกษาสู่การพัฒนาผู้เรียน
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
ไฟใต้หลังเลือกตั้งในมิติการกระจายอำนาจ: ภาพอนาคตที่ควรเป็น
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
การป้องกันประเทศ 1 พม่า
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เผด็จการทหารพม่า เป็นปัญหาของประชาชาติชาติทั่วโลก
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
บทบาท อำนาจ หน้าที่ข้าราชการ กอ. รมน
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
เรื่อง : เหตุการณ์การก่อการร้าย
นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอนครู ธีระพล เข่งวา
1. ความไม่ปกติและความปกติ ความปกติความปกติ ไม่ปกติไม่ปกติ สภาพที่เป็นตามที่เคยเป็น, ทำ อยู่เป็นประจำเป็นปกติ ทำตามที่คนอื่นทำ / เป็น, ระเบียบวิธีการตามปกติ
สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ก. ประธานาธิบดีแฮรี่ เอช ทรูแมน ข. ประธานาธิบดีธอมัส วูดโรว์ วิลสัน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การแทรกแซง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยบังคับรัฐอื่นให้กระทำในสิ่งที่ ตนต้องการ การแทรกแซงย่อม เป็นการคุกคามอำนาจอธิปไตย ของรัฐอื่น ซึ่งเป็นการละเมิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณี ติมอร์ตะวันออก จัดทำโดย นางสาวพิมพ์กานต์ คงอ่อน รหัสประจำตัวนักศึกษา 5120710113 เสนอ ผู้ช่วย ศจ.ชิดชนก ระฮิมมูลา งานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ( 196-415 ) Conflict Resolution in Southeast Asia คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม กรณีติมอร์ตะวันออก

ความเป็นมาของความขัดแย้ง ติมอร์ตะวันออก เป็นอาณานิคมของโปรตุเกสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520) ภายหลังโปรตุเกสถอนตัวออกไป เมื่อปี พ.ศ. 2518 อินโดนีเซียได้ส่งทหารเข้ายึดครองติมอร์ตะวันออกโดยผนวกเข้าเป็นจังหวัดที่ 27 ของอินโดนีเซีย

การก่อตัวของความขัดแย้ง ชาวติมอร์ตะวันออกต้องการแยกตัวเป็นเอกราช รัฐชายขอบ ความแตกต่างทางอัตลักษณ์ อิสลาม (ชาวอินโดนีเซีย) คริสต์ (ชาวติมอร์ตะวันออก)

รัฐบาลอินโดนีเซียยินยอมให้ชาวติมอร์ตะวันออกลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากอินโดนีเซีย ในวันที่ 30 สิงหาคม 2542 ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกกว่าร้อยละ 80 ออกเสียงสนับสนุนการแยกตัวเป็นเอกราช จึงก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงในติมอร์ตะวันออกโดยกลุ่มกองกำลัง militia ที่นิยมอินโดนีเซีย

การจัดการปัญหาความขัดแย้ง ระยะเริ่มแรกรัฐบาลอินโดนีเซียมีการจัดการปัญหาด้วยการใช้ความรุนแรง ในการยุติความขัดแย้งที่เกิดขึ้น

ผลของการจัดการความขัดแย้ง ความขัดแย้งมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น การจัดการความขัดแย้ง โดยใช้ความรุนแรงของรัฐบาลอินโดนีเซียขณะนั้นถูกกล่าวหาว่าเป็น การละเมิดสิทธิมนุษยชน เมื่อรัฐบาลอินโดนีเซียไม่มีความสามารถในการจัดการปัญหา ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในชาติตนได้ สหประชาชาติจึงต้องเข้ามา แทรกแซง

บทบาทของสหประชาชาติในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง สหประชาชาติได้ตัดสินใจจัดตั้งกองกำลังนานาชาติ (International Force in East Timor - INTERFET) เมื่อ 15 กันยายน พ.ศ. 2542 เพื่อส่งเข้าไปรักษาสันติภาพในติมอร์ตะวันออก ก่อนที่จะประกาศเอกราชในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2545 เริ่มตั้งแต่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 สหประชาชาติดำเนินการสนับสนุนติมอร์ตะวันออกภายใต้ United Nations Mission of Support in East Timor (UNMISET)

แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาของติมอร์ตะวันออกมีความล่าช้า คือ ระบบการเมืองภายในประเทศยังคงอยู่ในระยะการสร้างชาติ มีกลุ่มการเมืองต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย จนก่อให้เกิดเป็นปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง การแข่งขันเพื่อแย่งชิงอำนาจทางการเมืองระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ และปัญหาความขัดแย้งที่ฝังลึกตั้งแต่สมัยอยู่ใต้การปกครองของอินโดนีเซียที่มีการแบ่งกลุ่มอุดมการณ์ออกเป็น ๒ ขั้ว คือ กลุ่มนายกุสเมา นายฮอร์ตา และกลุ่มศาสนจักร กับกลุ่มของนายมารี อัลคาทีรี (Mari Alkatiri) และพรรค FRETILIN