Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา ปัจจุบัน (1994) ได้มีการค้นพบเชื้อนี้ 2296 สายพันธุ์ และเกือบทุก สายพันธุ์มีศักยภาพทำให้เกิดโรคได้ในโฮสต์หลายชนิด มีการติดเชื้อจากสัตว์มาสู่คน esp สุกรและไก่ เชื้อที่พบในเนื้อสัตว์เพียง 1000 เซลล์ ก็ทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษในคนได้ ทำให้โรคนี้มีความสำคัญทาง public health มากขึ้น
Stephen, 1991 คนอเมริกันที่เป็น Salmonellosis ติดจาก Green, 1982 พบว่า 66.9% ของไก่ที่สำรวจในโรงฆ่า 15 แห่ง ในปี 1979 มีเชื้อซัลโมเนลลาในพิสัย 2.5% - 87.5% Stephen, 1991 คนอเมริกันที่เป็น Salmonellosis ติดจาก เนื้อไก่ 6.4% ไข่ 3.4% เชื้อซัลโมเนลลาที่พบในไก่นั้น มีทั้งชนิดที่เกิดจากการปนเปื้อน จากสิ่งแวดล้อมและจากเชื้อที่ เป็นสาเหตุทำให้ไก่ป่วยเป็นโรค
Salmonellosis สามารถจำแนกได้เป็น 3 กลุ่ม 1. โรคพัลโลรุ่ม (Pullorum disease)/โรคขี้ขาว * ทำความเสียหายอย่างรุนแรง เกิดจาก S. pullorum 2. โรคไทฟอยด์ไก่ (Fowl typhoid) เกิดจาก S. gallinarum 3. โรคพาราไทฟอยด์ไก่ (Fowl paratyphoid) ส่วนใหญ่เกิดจาก S. typhimurium 1 & 2 เป็นเชื้อชนิด non-motile และเป็นโรคของไก่โดยเฉพาะ ส่วนกลุ่มที่ 3 มีบทบาทในการทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษในคน
การติดต่อ 1. ติดเชื้อในแนวดิ่ง (Vertical transmission) การถ่ายเชื้อจากแม่ที่เป็นโรค มายังลูกไก่ เป็นสาเหตุที่สำคัญมาก เพราะว่าโรคเกิดในระบบสืบพันธุ์ ซึ่งรวมอยู่กับระบบขับถ่าย จะทำให้ ไข่ติดเชื้อ ดังนั้นลูกไก่จะติดเชื้อ ตั้งแต่เกิดและไข่ที่ติดเชื้อทำให้เกิด การแพร่เชื้อในตู้ฟักและตู้เกิด
2. ติดเชื้อในแนวราบ (Horizontal transmission) ไก่ติดเชื้อจากการเลี้ยงรวมกันเป็นฝูง ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตไข่ 2.1 จากการสัมผัสกับไก่ป่วย (นิสัยชอบจิกก้น) 2.2 ลูกไก่แรกเกิดติดต่อกันจาก การสัมผัสขณะที่อยู่ในตู้ฟักและตู้เกิด 2.3 ไก่ป่วยถ่ายเชื้อปนเปื้อนในอาหาร น้ำ และสิ่งรองนอน 2.4 สัตว์ที่เป็นพาหะ
โรคพัลโลรุ่มหรือโรคอุจจาระขาว (Pullorum disease) สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Salmonella pullorum ซึ่งเป็นเชื้อรูปร่างแท่ง ย้อมติดสีกรัมลบ อาการ 1. ลูกไก่ การติดเชื้อจากแม่ (แนวดิ่ง) ตายในตู้ฟัก อ่อนแอและแพร่เชื้อ
อาการ 1. ลูกไก่ (ต่อ) ลูกไก่ที่ติดเชื้อหลังฟักมีอาการ: 1. ลูกไก่ (ต่อ) ลูกไก่ที่ติดเชื้อหลังฟักมีอาการ: อ่อนเพลีย เคลื่อนไหวช้า นอนสุม ส่งเสียงร้อง มักจับกลุ่มใกล้ไฟกก ปีกขนเปียก ยุ่งเหยิง กระหายน้ำมาก หายใจลำบาก อัตราการตายสูงถึง 70% โดยเฉพาะ หลังแสดงอาการได้ 1-2 วัน (ลูกไก่อายุ 4-5 วัน) ตัวที่รอดท้องเสีย อุจจาระขาวติดก้น
อาการ (ต่อ) 2. ไก่ใหญ่ อาจทำให้เกิดโลหิตเป็นพิษ แต่ ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง ท้องเสีย ไข่ลด ซีด ลูกไก่ตายโคม (3-5 วัน) รังไข่อักเสบ ตอบสนองต่อยาเป็นครั้งคราว ไม่สามารถทำลายเชื้อหมด เชื้อซัลโมเนลลาเป็นเชื้อที่ดั้งเดิมพบในทางเดินอาหารของคนและสัตว์ แต่ในไก่พบว่ามักเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ์
2. โรคไทฟอยด์ไก่ (Fowl typhoid) มีการติดเชื้ออย่างรุนแรงในระบบทางเดินอาหาร และต่อเนื่อง ทำให้เกิดการติดเชื้อในกระแสโลหิต esp. ไก่ที่กำลังเจริญเติบโต และไก่ใหญ่ อาการ 1. แบบรุนแรง ท้องเสีย ตาย 2. แบบเรื้อรัง เป็นตัวอมโรคและแพร่โรค : ซีด อ่อนแอ ให้ไข่ลด ไข่ตายโคม รังไข่อักเสบ วิการ ตับขยายใหญ่ มีสีบรอนซ์ และเป็นวิการจำเพาะของโรค
.โรคพาราไทฟอยด์ไก่ (Fowl paratyphoid) เกิดจากการติดเชื้อ Salmonella ซึ่งไม่ใช่ 2 spp. ที่กล่าวมาแล้ว (ที่สำคัญมี 20 ชนิด และสำคัญที่สุดคือ S. typhimurium อาการ มักพบในลูกไก่ อาการคล้าย pullorum วิการ ถุงไข่แดงไม่ถูกดูดซึม ตับเลือดคั่งและจุดเนื้อตาย, ลำไส้อักเสบ
การวินิจฉัย 1. จากประวัติ, อาการ: ท้องเสีย อุจจาระขาว 2. วิการ : ไก่ระยะผลผลิตมีการอักเสบ ฝ่อของรังไข่ ก้อนไข่แดง ถุงน้อย ฝ่อ 3. การเจาะเลือด เก็บซีรั่ม ทดสอบกับแอนติเจน (Plate Agglutination test) 4. โดยการเพาะเชื้อ : ส่ง ตับ, ลำไส้, ท่อนำไข่ ตะกอนแสดงว่าให้ผลบวก
การป้องกันโรค การรักษา หลีกเลี่ยงการนำลูกไก่จากฟาร์มที่มีโรคระบาด (ไม่มีวัคซีน) สุ่มเจาะเลือดพ่อแม่พันธุ์ หากพบโรคให้คัดทิ้ง การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะผสมน้ำหรืออาหาร