โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease) ระบาดวิทยา an acute and most highly communicable disease of all cloven footed animals; including hedgehogs ,elephants but rodents served as reservoirs ทำให้เกิดผลกระทบที่มีความ สูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมาก แม้ว่าโรคนี้จะไม่ได้ทำให้สัตว์ตาย เหมือนโรคระบาดที่ร้ายแรงอื่นๆ
สูญเสียผลผลิต ~25% สูญเสียตลาดส่งออกปศุสัตว์และผลผลิตจากสัตว์ สูญเสียงบประมาณในการควบคุมและป้องกันโรค เช่น การระดมกำลังคนในการออกฉีดวัคซีนหรือต้องจ่ายค่าชดเชยในการขอทำลายสัตว์ ซึ่งหากจ่ายน้อยกว่าความจริงก็จะมีการลักลอบนำซากสัตว์ไปขายยังตลาดที่อื่น ทำให้การควบคุมโรคใช้เวลานานและบ่อยครั้งที่ยากจะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา
อุบัติการณ์ของโรคพบได้ในเกือบทุกประเทศในโลก ประเทศที่ไม่เคยพบโรค คือ AU*, NZ* ประเทศที่พบโรคเป็นครั้งคราว คือ กลุ่มอเมริกาเหนือ ญี่ปุ่น กลุ่มประเทศในยุโรป ประเทศที่พบโรคเป็นประจำ คือ กลุ่มทวีปเอเซีย อาฟริกา และอเมริกาใต้ สาเหตุ “aphthovirus”, 7 strains: A*, O*, C, SAT1, SAT2, SAT3, and Asia1* ประเทศไทยมีระบาด 3 strain คือ A, O และ Asia1
อาการและรอยโรค เริ่มจากสัตว์มีไข้ เบื่ออาหาร มีน้ำลายย้อย เมื่อเปิดปากดู จะพบวิการเป็นตุ่มน้ำใส และตุ่มนี้จะแตก ทำให้เป็นแผลที่บริเวณลิ้น เหงือก เพดาน ภาพแสดงโรคปากและเท้าเปื่อยในโค ที่มาภาพ www.maff.gov.uk
ภาพแสดงโรคปากและเท้าเปื่อยในโค ในขณะที่ไล่เลี่ยกัน เชื้อจะไปตามกระแสเลือด ลงไปสู่ที่กีบเท้า โดยเฉพาะที่ไรกีบและที่ระหว่างกีบ ทำให้เกิดตุ่มน้ำใสและแตกออกเช่นเดียวกัน แสดงแผลที่เริ่มหาย ที่มาภาพ : www.maff.gov.uk
อาการโรคปากเท้าเปื่อยในสุกร ตุ่มน้ำใสที่ลิ้นและจมูกในวันแรกที่แสดงอาการ อาการที่ปากจะไม่ชัดเจนเหมือนในโค ที่มาภาพ: www.maff.gov.uk
อาการปากเท้าเปื่อยอย่างรุนแรงในสุกร อาการที่กีบจะรุนแรงมากกว่าสัตว์ชนิดอื่น
อาการในแกะ สัตว์มีอาการปากเปื่อยและขากระเผลก แต่ไม่ชัดเจนเหมือนในโค สัตว์มีอาการปากเปื่อยและขากระเผลก แต่ไม่ชัดเจนเหมือนในโค ที่มา: Linklater, K.A. and Smith, M.C.1993. Color Alas of Diseases and Disorders of the Sheep and Goat. www.maff.gov.uk ตุ่มน้ำใสที่ไรกีบ เห็นไม่ชัดเท่ากับในโค โรคปากและเท้าเปื่อย แผลที่เหงือกบน
Rule of Thumb Carrier Amplifier Indicator โรคปากและเท้าเปื่อย
ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดของโรค (Pereira, 1981) สามารถติดต่อได้หลายทาง esp. โดยการกินการหายใจ และติดต่อผ่านอากาศ (air-borne) สุกรสามารถแพร่เชื้อได้ดีกว่าสัตว์ชนิดอื่น esp. โดยการหายใจ มีระยะฟักตัวของโรคสั้น เฉลี่ย 3 วัน ในขณะที่สัตว์ป่วยหายแล้วยังคงเป็นพาหะได้อีกนาน ไวรัสสามารถมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมได้ดี ทนต่ออุณหภูมิ เชื้อมี antigenicity มาก และแต่ละชนิดไม่ก่อให้เกิดภูมิต้านทานที่ครอบคลุม ต่อโรคได้ (no cross immunity protection) โรคปากและเท้าเปื่อย
การควบคุมและป้องกันโรค 1. การทำวัคซีนโดยทั่วไป 2. การนำเข้าสัตว์และ ผลิตภัณฑ์สัตว์จาก ต่างประเทศต้องมีมาตรการ ตรวจกักอย่างเข้มงวด 3. ห้ามการเคลื่อนย้ายสัตว์ เข้าออกบริเวณที่เกิดโรค ที่มาภาพ: www.aphis.usda.gov. โรคปากและเท้าเปื่อย
การควบคุมและป้องกันโรค (ต่อ) 4. Whole sale slaughter and full compensation ไม่เกิดการลักลอบนำสัตว์ไปขายที่อื่น 5. ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อพ่นบริเวณที่มีการระบาดของโรค โรคปากและเท้าเปื่อย
การควบคุมและป้องกันโรค (ต่อ) 6. Ring vaccination 7 Establish disease information system 8. Data analysis and simulation modelling โรคปากและเท้าเปื่อย