โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
โรคของระบบไหลเวียนโลหิต
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
ตารางแสดงรายละเอียดการเคลื่อนย้ายสัตว์แต่ละชนิด เข้า-ออก จังหวัดพิจิตร
สถานการณ์การเคลื่อนย้ายสัตว์ เข้าในจังหวัดพิจิตร ประจำเดือน กุมภาพันธ์(วันที่ 21ม.ค.54. – 20 ก.พ.54)
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอหิวาตกโรค
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Tuberculosis วัณโรค.
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคเบาหวาน ภ.
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างเขตปลอดโรค พิษสุนัขบ้า.
สรุปรายงานการเคลื่อนย้ายสัตว์ – ซากสัตว์ ของด่านกักกันสัตว์พิจิตร ประจำเดือน มกราคม 2554.
นโยบาย กองสารวัตร และกักกัน. ๑. การ ทำลายเชื้อ โรค.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม) ระบาดวิทยา เป็นโรคที่ทำให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจในโคเนื้อเป็นอันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกา (US$ 450 billion ในปี 1996) ในประเทศไทยมีการระบาด ประปรายในภาคต่างๆ แต่ภาคใต้ มีการระบาดน้อยกว่าภาคอื่นๆมาก โรคคอบวม

ส่วนมากเป็นลูกสัตว์และคาดว่ามีสัตว์ติดเชื้อ ~ 2000 ตัว ระบาดครั้งล่าสุดในภาคใต้เมื่อ 16 กรกฎาคม 2544 ที่ อ.สุไหงโก-ลก และ อ.ตากใบ จ.นราธิวาสและ ที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี เนื่องจากมีการระบาดมาจากประเทศมาเลเซีย ทำให้มีการลักลอบนำเนื้อสัตว์ป่วยมาขายในเขต ชายแดนไทย และมี การชำแหละซากที่ริมแม่น้ำ สุไหง โก-ลก การระบาดครั้งนี้ ทำให้กระบือตาย~ 350 ตัว โคตาย ~ 100 ตัว ส่วนมากเป็นลูกสัตว์และคาดว่ามีสัตว์ติดเชื้อ ~ 2000 ตัว โรคคอบวม

สาเหตุ เป็นโรคที่เกิดจากหลายปัจจัยคือ 1. การจัดการที่ทำให้สัตว์เกิดความเครียด esp. การเคลื่อนย้ายสัตว์ 2. การติดเชื้อโรค เดิมเชื่อกันว่า เกิดจากแบคทีเรียเป็นสาเหตุ แต่ในปี 1993 พบว่ามีเชื้อไวรัส มาเกี่ยวข้องด้วย และน่าจะเป็น สาเหตุสำคัญอันดับแรก ตามมา ด้วยการติดเชื้อแทรกซ้อนจาก แบคทีเรีย ซึ่งอยู่ในทางเดินหายใจตามปกติ โรคคอบวม

สาเหตุ (ต่อ) 3. สภาวะภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม esp.ฝนตก เชื้อไวรัสที่สำคัญคือ Coronavirus (90%) นอกจากนี้อาจมีไวรัสที่ก่อโรคในทางเดินหายใจอื่นๆ ร่วมด้วย ส่วนแบคทีเรียคือ เชื้อรูปร่างแท่งย้อมติดสี Gram negative ชื่อ Pasteurella haemolytica biotype A, serotype 1 (Al) หรือ Pasteurella multocida ซึ่งเชื้อ Pasteurella สามารถสร้าง endotoxin 3. สภาวะภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม esp.ฝนตก โรคคอบวม

อาการ สัตว์มักจะแสดงอาการภายใน 1-4 สัปดาห์หลังการเคลื่อนย้ายสัตว์ สัตว์มักจะแสดงอาการภายใน 1-4 สัปดาห์หลังการเคลื่อนย้ายสัตว์ ระยะฟักตัวของโรคสั้นมาก หลังจากเชื้อเริ่มแบ่งตัวภายใน 2-3 ชม. ทำให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษ (septicemia and toxemia) อาการมักแสดงออกใน 2 แบบ คือ acute และ peracute มักตายภายใน 6-24 ชม.หลังแสดงอาการให้เห็น โรคคอบวม

อาการ เริ่มจากซึม ไม่เคลื่อนไหว ไข้สูง น้ำมูกน้ำลายไหล บวมที่คอหอยและบวมลงมาเรื่อยๆ จนถึงเสือร้องไห้ (brisket) เยื่อบุมีเลือดคั่ง หายใจลำบากมาก ตาย กระบือที่แสดงอาการมักไม่มีโอกาสรอด โรคคอบวม

อาการ ในกระบือสัตว์มีอาการแบบ peracute ไข้สูง คอบวม ปอดบวมอย่างรุนแรง ตายใน 24-48 ชม. หลังแสดงอาการ สารพิษที่เชื้อสร้างขึ้นทำให้คอบวมกดหลอดลม ทำให้สัตว์หายใจลำบากมาก โรคคอบวม

ลูกโคแสดงอาการบวมน้ำที่ส่วนหัวและคอ ที่มาภาพ www.vet.uga.edu/vpp/gray_book/FAD/HES.htm โรคคอบวม

วิการ คอบวมน้ำ พบจุดเลือดออกทั่วไปในอวัยวะต่างๆ ช่องอกมีน้ำเลือด ปอดบวม การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะทั่วไป เช่น Oxytetracycline, Sulfa, Pen-strep จะให้ยาได้ผลเฉพาะเมื่อรักษา ในระยะแรกๆ ที่เริ่มมีไข้และ ต้องฉีดยาเข้าเส้นเลือด

การควบคุมโรค ให้วัคซีน(ต่อเชื้อแบคทีเรีย) ตามโปรแกรมปีละ 2 ครั้ง โดยเฉพาะก่อนเคลื่อนย้ายสัตว์ 2-4 อาทิตย์ หากเคลื่อนย้ายสัตว์ ควรให้ยาปฏิชีวนะที่ต้นทางแบบ long actingและเมื่อสัตว์เดินทางมาถึงให้แยกสัตว์ไว้ต่างหาก ให้วิตามินละลายน้ำ สัตว์ที่อาการอ่อนเพลียมากควรให้ยาปฏิชีวนะซ้ำ ปัญหาในการควบคุมโรคคือ การทำวัคซีนได้อย่างไม่ทั่วถึงและการไม่ระมัดระวังในการทำลายซาก ทำให้เกิดการลักลอบเคลื่อนย้าย การชำแหละซากในแม่น้ำ

การควบคุมโรค (ต่อ) กรมปศุสัตว์ได้ให้การรักษาสัตว์ป่วยด้วยยาปฏิชีวนะและระดมกำลัง ring vaccination ในรัศมี 5 กม.รอบๆ อำเภอที่เกิดโรคระบาด พร้อมกับห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ระหว่าง อำเภอที่เกิดโรค