Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
กลไกราคากับผู้บริโภค
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนกำลังการผลิต
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 2 The Basics of Supply and Demand

Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ? Q&A: Supply & Demand Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ? A: Input Prices Technology Expectations Weather Q2. ขอให้แสดงสมการของ Supply ? A: Qs= Qs (P) หรือ Qs= f(P,w,…)

Q3. ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ Demand เลื่อนระดับ ? Q&A: Supply & Demand Q3. ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ Demand เลื่อนระดับ ? A: Income Price of Related Goods Expectations Tastes Q4. ขอให้แสดงสมการของ Demand ? A: QD= QD(P) หรือ Qx = f(Px, Py, I, ..)

Q&A: Supply & Demand Q5. จากสมการของ Demand Qx = f(-Px, -Py, Pz, I, ..) 5.1 สินค้า X เป็นสินค้าประเภทใด ? 5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสินค้า X และสินค้า Y เป็นอย่างไร ? และมีชื่อเฉพาะว่าอย่างไร? ขอให้ยกตัวอย่างสินค้าดังกล่าว? 5.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสินค้า X และสินค้า Z เป็นอย่างไร ? และมีชื่อเฉพาะว่าอย่างไร? ขอให้ยกตัวอย่างสินค้าดังกล่าว? A: สินค้า X เป็นสินค้าปกติ (Normal Good) เนื่องจาก.... A: เมื่อราคาสินค้า Y สูงขึ้น การบริโภคสินค้า X จะลดลง สินค้า X และสินค้า Y เป็นสินค้าประกอบกัน (Complements) เช่น กาแฟ และน้ำตาล A: เมื่อราคาสินค้า Z สูงขึ้น การบริโภคสินค้า X จะเพิ่มขึ้น สินค้า X และสินค้า Z เป็นสินค้าทดแทนกัน (Substitutions) เช่น กาแฟ และชา

Q&A: Supply & Demand Q6. จากสมการของ Demand สินค้า X เป็นสินค้าประเภทใด ? Qx = f(-Px, -I, ..) A: สินค้า X เป็นสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Good ) เนื่องจาก....

สรุป: ปัจจัยที่กำหนดการเปลี่ยนแปลงของ Demand Income Normal Good Inferior Good เช่น ขึ้นรถเมล์ Price of related goods Substitutes Complements Expectations Tastes

2) The Market Mechanism

Q&A: Equilibrium Q7. จากภาพ การซื้อขายที่ P1 จะส่งผลต่อตลาดอย่างไร ?

D A7. กลไกตลาด คือ การปรับตัว ของ ราคาเพื่อทำให้ตลาดเข้าสู่ภาวะดุลยภาพ => ไม่มี excess demand or excess supply ราคา (บาท/หน่วย) S Surplus P1 E P0 Q0 P2 Shortage ปริมาณ (หน่วย) Figure: Supply and Demand.

3) Changes in Market Equilibrium

ปริมาณนักท่องเที่ยว (คน) Q8. กรณีความไม่สงบในภาคใต้ ส่งผลต่อตลาดการท่องเที่ยวในหาดใหญ่อย่างไร ? D S’ A8. D’ ราคา (การใช้จ่ายในการท่องเที่ยว บาท/คน) S P2 Q2 P1 Q1 ปริมาณนักท่องเที่ยว (คน) Figure: New Equilibrium Following Shift in Demand and Supply.

สรุป: Changes in Market Equilibrium 3 Steps ในการวิเคราะห์ ดูว่าสิ่งที่เกิดขึ้นกระทบต่อ D หรือ S หรือ ทั้งคู่ กระทบในทิศทางใด (ซ้าย-ขวา) ใช้กราฟ วิเคราะห์ผลที่มีต่อ ราคา ปริมาณ และดุลยภาพ

Q9. ความยืดหยุ่น (Elasticity) คืออะไร ? ขอให้นักศึกษาทบทวนเรื่องต่อไปนี้ด้วย ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ( Price elasticity of demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ ( Price elasticity of demand) ความยืดหยุ่นไขว้ ( Cross-price elasticity of demand) ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price elasticity of supply) Q10. ความยืดหยุ่น ณ จุดใดๆ ในเส้นอุปสงค์เดียวกันเป็นอย่างไร?

4) Elasticities of Supply and Demand ความยืดหยุ่น (Elasticity) คือ Percentage change in one variable resulting from a 1-percent increase in another ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา ( Price elasticity of demand : Ep) คือ Percentage change in quantity demanded of good resulting from a 1-percent increase in its price Ep = (%ΔQ)/(% ΔP)

4) Elasticities of Supply and Demand Ep = (%ΔQ)/(% ΔP) %ΔQ คือ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของ Q = ΔQ Q x 100 %ΔP คือ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของ P = ΔP P x 100

Price Inelastic Price Elastic Linear Demand Curve 4) Elasticities of Supply and Demand Price Inelastic Ep < or = 1 Price Elastic Ep > 1 Linear Demand Curve Q = a - bP Q = 8 - 2P

A10. ราคา Ep = _∞ 4 Ep = _1 2 4 Ep = 0 ปริมาณ (หน่วย) 8 (บาท/หน่วย) Q = 8 - 2P Ep = _∞ 4 Ep = _1 2 4 Ep = 0 ปริมาณ (หน่วย) 8 Figure: Linear Demand Curve.

Q11. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาเท่ากับ ∞ เป็นอย่างไร ? (แสดงภาพ) A11. ราคา (บาท/หน่วย) P* D ปริมาณ (หน่วย) Figure: Infinitely Elastic Demand.

Q12. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาเท่ากับ 0 เป็นอย่างไร ? (แสดงภาพ) A12. ราคา (บาท/หน่วย) Q* D ปริมาณ (หน่วย) Figure:Completely Inelastic Demand.

Q13: ตัวกำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสง์ต่อราคา? A13. คุณสมบัติของสินค้านั้น - จำเป็น - ฟุ่มเฟือย ความสามารถในการใช้ทดแทนกัน เวลา EpD สูงในระยะยาว การกำหนดขอบเขตของตลาด เช่น เครื่องดื่ม น้ำผลไม้ (น้ำอัดลม) น้ำส้มคั้น

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Price elasticity of demand) คือ 4) Elasticities of Supply and Demand ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Price elasticity of demand) คือ Percentage change in quantity demanded of good resulting from a 1-percent increase in income

( Cross-price elasticity of demand) คือ 4) Elasticities of Supply and Demand ความยืดหยุ่นไขว้ ( Cross-price elasticity of demand) คือ Percentage change in quantity demanded of one good resulting from a 1-percent increase in the price of another

ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price elasticity of supply) คือ 4) Elasticities of Supply and Demand ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price elasticity of supply) คือ Percentage change in quantity supplied of good resulting from a 1-percent increase in its price EpS = (%ΔQs)/(% ΔP)

Q14: ตัวกำหนดความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ? A14. ความสามารถของผู้ผลิตในการเปลี่ยนแปลง ปริมาณผลผลิต ช่วงเวลา => อุปทานจะมีความยืดหยุ่นสูงในระยะยาว

ทราบมาว่าพวกคุณกำลังเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 พวกคุณช่วยผมตอบปัญหาเหล่านี้หน่อยได้ไหมครับ แบบฝึกหัดที่ท้ายบทที่ 2 1. D & S ของข้าวสาลีดังนี้ Supply: QS = 1800 + 240P Demand: QD= 3550 - 266P ก. จงหา P และ Q ที่จุดดุลยภาพ หรือ PE , QE (พร้อมวาดรูปประกอบ) ข. หาความยืดหยุ่นต่อราคาของ D และ S ณ.ราคาและปริมาณดังกล่าว ?

แนวคำตอบ (3.46) (2,630) (-0.35) ความยืดหยุ่นต่อราคาของ S คือ (0.32) ราคาดุลยภาพคือ ราคาที่ทำให้ QD=QS ได้ PE เอา P ที่ได้ไปแทนค่าใน สมการ D or S  ได้ QE ความยืดหยุ่นต่อราคาของ D คือ (3.46) (2,630) (-0.35) ความยืดหยุ่นต่อราคาของ S คือ (0.32)

ทราบมาว่าพวกคุณกำลังเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 พวกคุณช่วยผมตอบปัญหาเหล่านี้หน่อยได้ไหมครับ 1. D & S ของข้าวสาลีดังนี้ Supply: QS = 1800 + 240P Demand: QD= 3550 - 266P ก. จงหา P และ Q ที่จุดดุลยภาพ หรือ PE , QE (พร้อมวาดรูปประกอบ) ข. หาความยืดหยุ่นต่อราคาของ D และ S ณ.ราคาและปริมาณดังกล่าว ? จากปัญหาน้ำท่วมทำให้ผลผลิตเสียหายส่งผลให้ราคาข้าวสาลีเพิ่มสูงขึ้นเป็น 4 หน่วย นักศึกษาคิดว่าความยืดหยุ่นต่อราคาของ D เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

แบบฝึกหัดที่ท้ายบทที่ 2 2. สมการ Demand และ Supply ของข้าวดังที่กำหนดให้ ขอให้นักศึกษาตอบคำถาม S: QS = 4 + 4P D: QD = 28 - 2P ก. หาราคา และปริมาณดุลภาพของข้าว และแสดงกราฟ (โดยกำหนดจุดราคาและปริมาณดุลยภาพ) ข. หากรัฐบาลกำหนดให้การซื้อขายข้าวที่ราคา 5 หน่วย จะส่งผลต่อตลาดข้าวอย่างไร