การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
น้ำหนักแสงเงา.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Rayleigh Scattering.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
Electromagnetic Wave (EMW)
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
ทัศนศาสตร์ประยุกต์ 1. บทนำ 2. แสงเชิงเรขาคณิต 3. โพลาไรเซชัน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
Liquid Crystal Display (LCD)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป การหักเหแสง แบ่งเป็น 1 การหักเหเข้าหาเส้นปกติ 2 การหักเหออกจากเส้นปกติ

การหักเหเข้าหาเส้นปกติ เกิดเมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางความเร็วมาก ไปยังตัวกลางความเร็วน้อย ( เช่น อากาศไปน้ำ ) ความเร็วมาก ความเร็วน้อย

การหักเหออกจากเส้นปกติ เกิดเมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางความเร็วน้อย ไปยังตัวกลางความเร็วมาก ความเร็วน้อย ความเร็วมาก

การหักเหของแสงทุกแบบ เป็นตามกฎของสเนลส์ ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางหักเห เทียบกับ อากาศ เรียกย่อ ๆ ว่า “ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางหักเห” การหักเหของแสงทุกแบบ เป็นตามกฎของสเนลส์ ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางหักเห เทียบกับ ตัวกลางตกกระทบ ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางตกกระทบ เทียบกับ อากาศ เรียกย่อๆว่า “ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางตกกระทบ”

แสงตกกระทบในอากาศ หักเหเข้าไปใน แก้ว ตัวอย่าง ถ้าดัชนีหักเหของแก้ว เป็น 4/3 จงหาความเร็วแสงในแก้ว ดัชนีหักเหของแก้ว เทียบ อากาศ=4/3 แสงตกกระทบในอากาศ หักเหเข้าไปใน แก้ว

ต่อ อากาศ แก้ว

ต่อ อากาศ แก้ว

ตัวอย่าง กำหนดดัชนีหักเหของแก้ว เป็น 4/3 ถ้าแสงตกกระทบมีความยาวคลื่น 4 cm ดังรูป จงหามุมหักเหและความยาวคลื่นหักเห อากาศ 30 แก้ว

มุมตกกระทบ 60 อากาศ 30 แก้ว มุมหักเห

ตัวอย่าง ถ้าดัชนีหักเหของแก้วเท่ากับ 1. 5 และดัชนีหักเหของน้ำเท่ากับ 1 ตัวอย่าง ถ้าดัชนีหักเหของแก้วเท่ากับ 1.5 และดัชนีหักเหของน้ำเท่ากับ 1.3 ถ้าแสงตกกระทบในแก้วทำมุมตกกระทบ 37 รังสีหักเหจะทำมุมกับรอยต่อตัวกลางเท่าใด แก้ว น้ำ

มุมหักเห = 90-43.63=หาเองนะจ๊ะ แก้ว มุมหักเห = 90-43.63=หาเองนะจ๊ะ น้ำ

มุมวิกฤติและการสะท้อนกลับหมด ความเร็วมาก ความเร็วน้อย

มุมวิกฤติในตัวกลางความเร็วน้อยเทียบกับตัวกลางความเร็วมาก

มุมวิกฤติในน้ำเทียบกับแก้ว

มุมวิกฤติของน้ำเทียบกับอากาศ

มุมวิกฤติของแก้วเทียบกับอากาศ

อากาศ แก้ว

อากาศ แก้ว ลึกปรากฏ ลึกจริง

อากาศ แก้ว

การรวมกันของคลื่น 1 การรวมกันใน 1 มิติ 2 การรวมกันใน 2 มิติ 1 การรวมกันใน 1 มิติ 2 การรวมกันใน 2 มิติ 3 การรวมกันใน 3 มิติ

ดูโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การแทรกสอด เมื่อคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดอย่างน้อย 2 แหล่ง เคลื่อนที่รวมกัน เรียกว่า เกิดปรากฎการณ์แทรกสอด

สัน + สัน ท้อง+ท้อง ท้อง+สัน เสริมกัน (Antinode) หักล้าง Anode)

ดูโปรแกรมคอมพิวเตอร์