The Impact of Sleep deprivation on Animal Health

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
TOPICS 1. Obtaining and digesting of food (Digestive system)
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
บทที่ 2.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
Protein.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
whey เวย์ : casein เคซีน
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
สิ่งที่แม่ควรรู้ >>>กลไกการหลั่งน้ำนม
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
โรคเบาหวาน Diabetes.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
SELENIUM ซีลีเนียม.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The Impact of Sleep deprivation on Animal Health ผลกระทบจากการนอนหลับไม่เพียงพอ ที่มีต่อสุขภาพสัตว์

สามารถปลุกให้ตื่นได้ การนอนหลับ (Sleep) ระบบประสาทส่วนกลาง การนอนหลับ การพัก(rest) ไม่รู้สึกตัว(coma) รู้สติ สามารถปลุกให้ตื่นได้ หมดสติชั่วคราว

2. ระยะที่มีการกลอกของลูกตา (Rapid Eye Movement, REM) NREM sleep ระยะของการนอนหลับ (Stage of sleep) Electroencephalogram (EEG) แบ่งระยะของการนอนหลับออกเป็น 2 ระยะ 2. ระยะที่มีการกลอกของลูกตา (Rapid Eye Movement, REM) 1.ระยะที่ไม่มีการกลอกของลูกตา (Non Rapid Eye Movement, NREM) แบ่งเป็น 4 ระยะย่อย Slow wave sleep (SWS) เพิ่ม SWS

วงจรการนอนหลับ(Sleep cycle) ตื่นนอน (sleep latency) NREM ระยะ 1 NREM ระยะ 2 NREM ระยะ 3 NREM ระยะ 4 REM NREM ระยะ 2 NREM ระยะ 3

ปัจจัยโน้มนำการนอนหลับ (Sleep factor) อายุ : วัยทารก VS วัยผู้ใหญ่ การออกกำลังกาย : หลับแบบ SWS ได้นานขึ้น โภชนาการ : L-tryptophan สิ่งแวดล้อม : แสง เสียง อุณหภูมิ

การนอนหลับไม่เพียงพอ (Sleep deprivation) ผลกระทบต่อสุขภาพกาย - อ่อนล้า - ง่วงนอน - เป็นโรคง่าย ผลกระทบต่อสุขภาพจิต - ทักษะการเข้าสังคมลดลง - หดหู่ ซึมเศร้า

1. การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนขณะนอนหลับ Melatonin light retina retina dark Suprachiasmatic nucleus (SCN) pineal gland 1. การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนขณะนอนหลับ เปรียบเทียบกับภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ Serotonin Melatonin Serotonin Melatonin Wake up Sleep

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ Melatonin ผลกระทบจาก melatonin ที่ลดลง Cause of sleep deprivation - โรค Alzheimer ฮอร์โมนต่างๆทำงานผิดปกติ light โรคกระดูก แผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ และโรคกรดไหลย้อน Serotonin Melatonin - ปริมาณสารอนุมูลอิสระเพิ่มขึ้น Sleep deprivation

Growth hormone releasing hormone ขณะนอนหลับ Growth hormone releasing hormone GHRH ใน hypothalamus Preoptic area Acetylcholine GABA SWS GH 58 % Somatostatin GH ช่วง SWS somatostatin GH Electrical activity ของ NA ใน locus coeruleus Acetylcholine ใน brain stem REM sleep

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ Growth hormone releasing hormone Sleep deprivation GHRH mRNA GH Somatostatin REM sleep deprivation stress Electrical activity ของ NA ใน locus coeruleus Somatostatin wakefulness GH

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ผลกระทบจากปริมาณ GHRH ที่เปลี่ยนแปลงไป - การเจริญเติบโตในเด็กหรือลูกสัตว์จึงช้าลงหรือเจริญไม่เต็มที่ เหนี่ยวนำภาวะ insulin resistance และโรคเบาหวานชนิดที่สอง

ยีนที่ใช้สังเคราะห์ TSH ขณะนอนหลับ thyroid hormone ยับยั้ง adenylyl cyclase ผ่าน MT1 บนผิว thyrotroph sleep melatonin กดการแสดงออกของ ยีนที่ใช้สังเคราะห์ TSH TSH TH การใช้พลังงาน อุณหภูมิร่างกายอบอุ่นคงที่

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ thyroid hormone Sleep deprivation Prepro-TRH mRNA express TypeII 5'-deiodinase T3 ในสมอง TH ในเลือด (hypothyroxinemia) TSH ผลกระทบจากปริมาณ TH ที่ลดลง อ่อนเพลีย หนาวง่าย เหนี่ยวนำให้เกิดโรคอ้วน

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ขณะนอนหลับ Cortisol Sleep deprivation sleep melatonin melatonin PER1, BMAL1 PER1, BMAL1 stressor stressor cortisol cortisol leptin ผลกระทบจากปริมาณ cortisol ที่เพิ่มขึ้น - กดการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะ insulin resistance โรคเบาหวานชนิดสอง โรคอ้วนและโรคหัวใจ - ฮอร์โมน progesterone, testosterone และ estradiol ผิดปกติ

Insulin NREM sleep การใช้ glucose Glucose GH insulin Light NREM ขณะนอนหลับ Insulin NREM sleep การใช้ glucose Glucose GH insulin Light NREM REM sleep การใช้ glucose Glucose cortisol somatostatin insulin

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ Insulin Normal glucose level Chronic sleep deprivation Acute sleep deprivation ร่างกายปรับตัว หลั่ง insulin การใช้ glucose Glucose cortisol, somatostatin Insulin resistance insulin Diabetes type II Glucose tolerance Glucose ช่วงกลางวัน

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ขณะนอนหลับ leptin และ ghrelin Sleep deprivation sleep sympathetic nervous system sympathetic nervous system Melatonin, insulin Melatonin, insulin leptin leptin ghrelin ghrelin ผลกระทบจากปริมาณ leptin และ ghrelin ที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นปัจจัยโน้มนำให้เกิดโรคอ้วน เหนี่ยวนำภาวะ insulin resistance และโรคเบาหวานชนิดที่สอง

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ขณะนอนหลับ NREM sleep sympathetic sympathetic Parasympathetic Heart rate Heart rate Sympathetic 2. การเปลี่ยนแปลงของหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต Cardiac output Cardiac output ขณะนอนหลับเปรียบเทียบกับภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ Blood pressure Blood pressure Systemic vascular resistance Systemic vascular resistance

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ขณะนอนหลับ REM sleep Parasympathetic Parasympathetic Sympathetic Sympathetic ลดลง และเพิ่มขึ้นเป็นระยะๆ Heart rate Heart rate Cardiac output Cardiac output blood pressure blood pressure อัตราการไหลเวียนเลือดทั่วร่างกาย อัตราการไหลเวียนเลือดทั่วร่างกาย

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ 1. Hypertension Sleep deprivation sympathetic vessle constrict cardiac output heart rate Venous return Hypertension blood pressure

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ 2. Coronary heart disease Gherlin Leptin Cortisol glucose ในเลือด Calories intake Fatty acid LDL receptor (liver) Triglyceride และ Cholesterol LDL-Cholesterol

Coronary heart disease LDL-Cholesterol จับกับ endothelium monocyte ยึดกับ endothelium แล้วเปลี่ยนเป็น macrophage เพื่อเก็บกิน LDL-cholesterol foam cell endothelitis Atherosclerotic plaque Atherosclerosis Coronary heart disease

เปรียบเทียบกับภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ขณะนอนหลับ ขณะตื่น กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน Th2, IL-4, IL-5, IL-10, IL-13 Th1, IL-1, TNF-α 3. การเปลี่ยนแปลงของระบบภูมิคุ้มกันขณะนอนหลับ Immunoglobulin White blood cell เปรียบเทียบกับภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอม ภายนอกเซลล์ได้ดีกว่า ตอบสนองแบคทีเรียและ Intracellular virus ดีกว่า

สาเหตุที่ระบบภูมิคุ้มกันถูกกระตุ้นมากขึ้นขณะนอนหลับ กลไกการใช้พลังงานจากกลูโคส : ปริมาณกลูโคสเหลือมากพอ สำหรับการแบ่งตัวของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน ความเครียด : cortisol ลดลง ระบบภูมิคุ้มกันจึงทำงานได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ ระดับฮอร์โมน : cortisol, epinephrine และ norepinephrine ลดลง ขณะที่ growth hormone, prolactin, melatonin และ leptin มากขึ้น

ผลจากการนอนหลับอย่างเพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ขณะนอนหลับ ผลจากการนอนหลับอย่างเพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ระบบภูมิคุ้มกันสามารถใช้กลูโคสในการสร้างเซลล์ภูมิคุ้มกัน และไซโตไคน์ได้อย่างเต็มที่ มีปริมาณเซลล์ภูมิคุ้มกันมากพอในการป้องกันร่างกาย กระตุ้นให้การนอนหลับแบบ NREM ยาวนานขึ้น

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ผลจากการนอนหลับไม่เพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ผลกระทบโดยตรงต่อไซโตไคน์ Sleep deprivation NREM sleep WBC IL-1, TNF-α IFN-γ T-helper 1

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ผลจากการนอนหลับไม่เพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ผลกระทบโดยตรงต่อปัจจัยโน้มนำการนอนหลับ Sleep regulatory Substances : IL-1, TNF-α Sleep regulatory Substances : IL-1, TNF-α SWS SWS Possitive feedback Sleep deprivation

ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ผลจากการนอนหลับไม่เพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ผลกระทบโดยอ้อมต่อการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน ร่างกายตื่นตัว การใช้กลูโคส ระบบภูมิคุ้มกันขาดพลังงาน ความเครียดสะสม เซลล์ภูมิคุ้มกัน Cortisol, Norepinephrine, Epinephrine กดการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

ผลจากการนอนหลับไม่เพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอ ผลจากการนอนหลับไม่เพียงพอต่อระบบภูมิคุ้มกัน ผลกระทบโดยอ้อมต่อการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน Sleep deprivation Melatonin, leptin cortisol กดการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน “ภาวะนอนหลับไม่เพียงพอทำให้ระบบภูมิคุ้มกันมีประสิทธิภาพการทำงาน ลดลง จึงเพิ่มโอกาสในการติดเชื้อ ร่างกายอ่อนแอและเจ็บป่วยได้ง่าย”

Thank you for your attention ตัวอย่างสัตว์ที่ได้รับผลกระทบจากการนอนหลับไม่เพียงพอ Thank you for your attention