พระพุทธศาสนาแห่งทวารวดี (พศต )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ท่องเที่ยวจจังหวัดสุพรรณบุรี
Advertisements

ตำนานเมืองฟ้าแดด เนื้อเรื่อง
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนค่ะ ถือว่าเป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยที่มีตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเชียวนะคะ.
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
สัปดาห์ที่ 7 : ศิลปะขอมในประเทศไทย (สถาปัตยกรรม)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ประติมากรรม พระพุทธรูป พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจแบ่งออกได้เป็น
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ศิลปะเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ที่พบระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
History มหาจุฬาฯ.
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สมัยโชมอน.
สมัยโคะฟุน.
การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา
จังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กชายอธิภัทร แป้นทิม ชั้นป4/3 เลขที่10
โดย เด็กชายชนสิษฏ์ วุฒิรักษ์ชัยนันท์ ป.4/3 เลขที่7
ท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ด. ญ. สุดารัฐ เลิศทัศนว นิช.
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
ชาวพุทธตัวอย่าง พระเจ้าอโศกมหาราช ประวัติเบื้องต้น
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
อำเภอพนัสนิคม โดย นางสาวสิราวรรณ พรงาม.
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
บ้านของฉัน “สุพรรณบุรี”
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
สถานที่ท้องเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา
WELCOME To ANGTHONG.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัดมโนภิรมย์ จังหวัด มุกดาหาร.
ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในอินเดีย
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ภาคใต้.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
กรุงศรีอยุธยา.
ครูจงกล กลางชล. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง 2 วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับ ความเป็นมาของชนชาติไทย โดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดลำพูน จัดทำโดย ด.ญ.ธวัลรัตน์ ศรีวรรณา ชั้น ม.1/4 เลขที่ 17 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
LAO Best Asian Lao Rapper from Texas- Kay feat. Tony Vee-Struggle
2. พระพุทธ ศาสนาเถรวาทสายพุกาม เข้ามา ในช่วง พ. ศ. ๑๖๐๐ สายนี้เข้ามาสู่ไทยด้วย อิทธิพลของพระเจ้าอนุรุธมหาราช ผู้ได้ อำนาจในพม่าและตั้งเมืองหลวงขึ้นที่เมือง.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
8จังหวัดภาคเหนือตอนบน
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระพุทธศาสนาแห่งทวารวดี (พศต. 11-15) 1. อาณาจักรนี้ เจริญอย่างรวดเร็ว เพราะเคยเป็นศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองแห่งแคว้นสุวรรณภูมิมาก่อน 2. บทบาทแห่งการเมือง ได้ปรากฎขึ้นมาราวพศต. 11-15 ส่วนศิลปะและวัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อมาถึงอาณาจักรรุ่นหลังด้วย 3. ตามจดหมายเหตุของสมณะเฮี้ยนจัง เรียกว่า อาณาจักรตุยล้อกัวตี่ ตรงกับคำจารึกเรียกว่า ทวารกะเดย ( ชื่อเมืองหนึ่งในกัมพูชา ) 4. เชื่อกันว่าชนชาติแห่งอาณาจักรทวารวดีคงเป็นมอญ หรือกลุ่มชนที่มีลักษณะวัฒนธรรมคล้ายมอญโบราณ

5. การจัดการปกครองแห่งอาณาจักรนี้น่าจะประกอบด้วยรัฐเล็ก ๆ หลายรัฐรวมกัน และอาจมีศูนย์การปกครองอยู่ที่เมืองอู่ทอง นครปฐม สุพรรณบุรีหรืออยุธยา 6. ได้แผ่อิทธิพลไปยังเมืองครหิ (อ.ไชยา) เมืองละโว้ และเมืองหริภุญชัย (ลำพูน) 7. อาณาจักรทวารวดีเสื่อมลง (พศต. 15-18) เพราะ - อาณาจักรศรีวิชัย - อาณาจักรละโว้ - กองทัพของพม่าสมัยอโนรธามังช่อ ซึ่งมีผลกระทบมาถึงภาคกลางของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา

ความเป็นไปแห่งพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนายุคทวารวดีมีทั้งนิกายเถรวาทและมหายาน แต่เถรวาทน่าจะมีอิทธิพลและบทบาทมากกว่ามหายาน ทวารวดีรักษาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท “แบบพระเจ้าอโศกมหาราช” ไว้อย่างเคร่งครัด ( โดยสืบมาจากพระมหากัสสปะที่ทำการสังคายนาครั้งที่ 1 ) พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในยุคนี้ได้แผ่อิทธิพลไปดินแดนอื่นๆ ได้ไกลกว่ายุคใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะภาคเหนือ อีสาน และภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบัน ได้พบพุทธศิลป์ในยุคนี้มากมายทั้งภาคเหนือ ใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนใหญ่ได้แบบมาจากศิลปะคุปตะของอินเดีย

**พุทธศิลป์แบบคุปตะ : พุทธรูปนั้นจะมีลักษณะคือ จีวรไม่นิยมทำเป็นริ้วแต่ทำเป็นแนบพระวรกายเพื่อแสดงถึงความรู้สึกถึงอารมณ์ 5. หลักฐาน 1. พระพิมพ์ พบอยู่บริเวณเมืองอู่ทองเก่า นครปฐม นครชัยศรี ราชบุรี 2. พระพุทธรูปเสมาธรรมจักรทำด้วยศิลาในเมืองกนกนคร ส่วนใบเสมาหินพบทางภาคอีสานทั่ว ๆ ไป 3. สถูปที่วัดกู่กูด ณ เมืองลำพูน 4. ซากสถูปที่วัดพระเมรุ (อยุธยา)

5. พุทธรูปศิลาห้อยพระบาทขนาดใหญ่กว่าคนมี 4 องค์ อยู่ที่นครปฐม 1 องค์ อยู่ที่นครปฐม 1 องค์ อยู่ที่อยุธยา 3 องค์ พุทธรูปปางพระวรมุทระ อยู่ที่พิพิภัณฑ์สถานแห่งชาติ 6. ศิลาจารึกคาถา “ เย ธมฺมา ” ที่ถ้ำเขางู (ราชบุรี) ซึ่งเป็นภาษาบาลีอักษรคฤนถ์ 7. ในพศต. 12 พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทได้เผยแผ่ไปทางภาคเหนือของไทย โดยการนำของพระนางจามเทวี ผู้ซึ่งเป็นราชธิดาแห่งละโว้ 8. เชื่อว่าพระเครื่องสกุลลำพูนที่เรียกว่า พระรอด ก็เกิดในยุคนี้

สรุป 1. พระพุทธศาสนาในยุคนี้ ได้กลายเป็นรากฐานอันมั่นคงของรัฐพุทธ ได้ผสมผสานกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในยุคนี้ 2. พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ไปทั้งระดับรัฐและประชาชน 3. เกิดประเพณีต่าง ๆ ต่อเนื่องกันถึงปัจจุบัน เช่น การบวช การเผาศพ ฯลฯ

ศิลปะทวารวดีแบ่งออกเป็น 3 ยุค 1. ทวารวดีตอนต้น ส่วนใหญ่สร้างด้วยหินที่มีขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายพระพุทธรูปแบบคุปตะอยู่มาก จีวรเรียบบางแนบติดกับองค์พระ พระอังสากว้าง พระพักตร์ค่อนข้างยาว และกลมกว่ารุ่นหลัง พระศกทำเป็นเม็ดขนาดใหญ่ พระเกตุมาลาเป็นต่อมลักษณะนูน และสั้นพระนลาฏแคบไม่เรียบเสมอกัน พระเนตรเหลือบต่ำลง หลังพระเนตรอูม จนได้ระดับกับพระนลาฏ พระขนงโก่งยาวและจรดกันที่สันกลางพระนาสิกที่เรียกว่า คิ้วต่อ พระนาสิกก้านใหญ่ ริมฝีพระโอษฐ์หนา ลักษณะทั่วไปกระด้าง ไม่สู้ได้สัดส่วนเท่าใดนัก มักทำพระหัตถ์และพระบาทใหญ่ ไม่สมกับองค์พระ ในส่วนพระเศียรเท่านั้นที่ยังรักษาศิลปะของคุปตะไว้

2. ทวารวดีตอนกลาง ฝีมือช่างประณีตขึ้นกว่ารุ่นแรก แสดงออกถึงอิทธิพลของชาวมอญ ห่างไกลจากฝีมือแบบคุปตะมากขึ้น เช่น พระพักตร์ลักษณะแบนกว้างและสั้น พระโอษฐ์กว้างและแบะ เห็นได้ชัด พระเนตรโปน ดูท่าเคร่งเครียด มีทั้งที่สร้างด้วยหินแข็งมีขนาดใหญ่โต ทั้งแบบลอยองค์และจำหลักนูน ส่วนที่เป็นสำริดจะมีขนาดเล็กประมาณครึ่งฟุตทั้งปางสมาธิ ปางมารวิชัย และพระสำริดยืน 3.  ทวารวดีตอนปลาย เป็นลักษณะผสมศิลปะศรีวิชัยและศิลปะอู่ทอง ไม่ค่อยปรากฏพบพระพุทธรูปสมัยทวารวดีรุ่นนี้มากนัก นอกจากทางภาคเหนือที่ลำพูน และเชียงใหม่

ศิลปะแบบทวารวดี ทำเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย มีรูปพระอินทร์เป่าสังข์ พระพรหมกั้นฉัตร (เป็นลักษณะแรกที่ค้นพบ โดยอาจจะหมายถึงตอนพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากดาวดึงส์ ภายหลังเสด็จขึ้นไปโปรดพระพุทธมารดาที่ดาวดึงส์ก็ได้ )

ศิลปะแบบทวารวดี