การผลิตไบโอดีเซลด้วยพลังงานจากแสงอาทิตย์ ดร. ณัฐภพ นิ่มปิติวัน อ.สุนทรี รัตภาสกร
ความร่วมมือ (National Science and Development Agency) Acknowledgement for sponsor and supports from BU, NSTDA and Dr. Samai Jaiin. And Introduce the project by opening ceremony.
ข้อมูลทั่วไปของโรงผลิต แผงโซล่าร์เซลล์(Photovoltaic/Thermal System) ผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อน (Electricity and Hot water) แผงชนิด Amorphous PVT (Pmax 50x12 = 600 W) งบลงทุน ประมาณ 400,000 บาทสำหรับระบบ PVT และค่าติดตั้ง ระบบผลิตไบโอดีเซล กำลังการผลิต 100 ลิตร ราคาถูกกว่าน้ำมันดีเซลจากท้องตลาด ประมาณ 10 บาทต่อลิตร ขบวนการผลิต 4-5 ชั่วโมง งบลงทุนประมาณ 300,000 บาทสำหรับระบบผลิตไบโอดีเซล
การใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์ในการผลิตไบโอดีเซล Solar cell 12 panels กำลังผลิตไฟฟ้าสูงสุด 50x12 600 วัตต์ ผลิตน้ำร้อน 60C บรรจุในถังเก็บขนาด 500 ลิตร
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในขบวนการผลิตไบโอดีเซล
Inverter
ต้นทุนการผลิต (BU Case Study) การผลิตไบโอดีเซล 1 ครั้ง น้ำมันจากพืช หรือ ไขมันจากสัตว์ 100 ลิตร พลังงานไฟฟ้า 10 kWh Methanol 20 L น้ำ 260 L KOH 1.5 kg เวลาที่ใช้ 4 ชั่วโมง Biodiesel 80 – 95 ลิตร
Production Cost (BU Case Study) บาท Price Difference ครั้งการผลิต
การใช้งานในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การใช้งานในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
โครงการสหกิจศึกษากับนักเรียนชั้นมัธยมปลาย วัตถุประสงค์ เป็นแหล่งข้อมูล และเผยแพร่แนวความคิดและความเป็นไปได้ในการเลือกใช้พลังงานทดแทนอย่างเหมาะสมแก่นักเรียนและชุมชน เผยแพร่ขั้นตอนและกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว ชี้แจงขีดจำกัดในการใช้งาน ประโยชน์ และต้นทุนที่ใช้ในขบวนการผลิต เผยแพร่ประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในกระบวนการผลิต
วิชา EE491 (Special Topic in Electrical Engineering) วิชาบรรยาย 3 หน่วยกิจ ( 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 14 ครั้ง) การผลิตไบโอดีเซล (ทฤษฎิและปฏิบัติ) การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ (ทฤษฎิและปฏิบัติ) การอนุรักษ์พลังงาน การบรรยายของผู้เชี่ยวชาญพิเศษ และการดูงาน การนำเสนอในหัวข้อด้านพลังงานทดแทนของนักศึกษา