กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
Advertisements

ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การใช้ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สำนักงาน ก.พ.ร. เปิดบ้านจัดคลินิกให้คำปรึกษาการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified FL) 6 ก.พ. 56 – 13 มี.ค. 56.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบการนำเสนอ ส่วนที่ 2 สรุปสาระสำคัญ ส่วนที่ 1 ภาพรวม PMQA ๐ หมวด 1 การนำองค์กร ๐ หมวด 2 SP 5 : การถ่ายทอดตัวชี้วัด ๐ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการฯ ๐ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ๐ หมวด 5 การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ๐ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ๐ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินงาน ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาองค์กรเพื่อก้าวสู่การรับรอง PMQA

4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ภาพรวม PMQA PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ PMQA เป็นเกณฑ์มาตรฐานสากลที่ประยุกต์มาจาก MBNQA ของอเมริกา กรอบแนวคิด PMQA ประกอบด้วย 7 หมวด ที่มีความเชื่อมโยงกันระหว่าง กระบวนการ (หมวด 1-6) ซึ่งส่งผลต่อผลลัพธ์ในหมวด 7 หากมีกระบวนการที่ดี เป็นระบบ ก็จะมีผลลัพธ์การดำเนินการที่ดีด้วย องค์ประกอบของเกณฑ์ ประกอบด้วย 1. ลักษณะสำคัญขององค์กร : อธิบายภาพรวมการดำเนินการในปัจจุบันที่หน่วยงาน เป็นอยู่ 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน 2.1 ส่วนที่เป็นกระบวนการ ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ กลุ่มนำองค์กร (หมวด 1,2,3) และ กลุ่มปฏิบัติการ (หมวด 5,6) และกลุ่มพื้นฐานของระบบ (หมวด 4) 2.2 ส่วนที่เป็นผลลัพธ์ (หมวด 7) หากเปรียบ PMQA เหมือนการสร้างบ้าน หลังคาบ้าน คือ หมวด 3 (นำความต้องการของผู้รับบริการเป็นตัวตั้ง คาน คือ หมวด 2 เสาแต่ละต้นในบ้าน คือ หมวด 6 ฐานรากหรือมันสมองขององค์กร คือ หมวด 4 พื้นของบ้าน คือ หมวด 5 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 2 2

การดำเนินงาน PMQA ของ สมอ. ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ก.พ.ร. นำ PMQA มากำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือกในคำรับรองฯ ปี 2549 และเป็นตัวชี้วัดบังคับ ตั้งแต่ ปี 2550 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร (หมวด P) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 7 หมวด 90 คำถาม ให้ตอบคำถามทั้ง 7 หมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 7 หมวด 52 คำถาม ให้เลือกปีละ 2 หมวด พัฒนาสู่ Successful Level สมอ.เริ่มดำเนินการ PMQA ตั้งแต่ ปี 2550 เป็นต้นมา ปี 2550 ตอบคำถามครบ 7 หมวด ผลการประเมิน สมอ.ได้ 5 คะแนน ปี 2551 ประเมินผล ADLI + หลักฐาน 7 หมวด ผลการประเมิน สมอ.ได้ 4.75 คะแนน ปี 2552 ประเมินผล ADLI ตามเกณฑ์ FL +หลักฐานหมวดเป้าหมาย +ผลลัพธ์หมวด 7 ผลการประเมิน สมอ.ได้ 4.91 คะแนน ปี 2553 ประเมินผล ADLI ตามเกณฑ์ FL +หลักฐานหมวดเป้าหมาย +ผลลัพธ์หมวด 7 ผลการประเมิน สมอ.ได้ 4.83 คะแนน ปี 2554 ประเมินผล ADLI ตามเกณฑ์ FL +หลักฐาน 6 หมวด +ผลลัพธ์หมวด 7 ปี 2553 ปี 2554 สมอ. จัดเป็นกรมด้านบริการ 6 1 5 2 4 ปี 2552 3

หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร เป้าประสงค์ ทำงานอย่างมีจริยธรรม LD 1 LD 5,6 ค่านิยม Stakeholder โดยยึด หลักโปร่งใส 2 ways แต่ละกลุ่ม LD 6 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ผลการดำเนินการที่คาดหวัง นโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 1 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ สร้างบรรยากาศ ติดตามผล LD 2 LD 3 การทำงานมีผลกระทบ ต่อสังคม ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) LD 7 LD 3 ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ เชิงรับ- แก้ไข ทบทวนผลการดำเนินการ หมวด 2 เชิงรุก คาดการณ์ ป้องกัน LD 4 ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ LD 4 ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร LD 4

หมวด 2 ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 2 ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม ภายนอก ปัจจัย วางแผนยุทธศาสตร์ โอกาส/ความท้าทาย (OP) ระยะสั้น ยาว SP 1 ภายใน การวางแผนยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการ/IT/คู่เทียบ/บุคลากร/จุดแข็ง จุดอ่อน/การปรับเปลี่ยนทรัพยากร ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก Stakeholder (OP) SP 2 SP 1 ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Map) SP 5 การคาดการณ์ - ผลปีที่ผ่านมา สื่อสาร สร้างความเข้าใจ SP 4 การบริหารความเสี่ยง SP 7 การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัด ใช้ติดตาม เป้าหมาย SP 6 แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล SP 3 จัดสรรทรัพยากร SP 6 นำไปปฏิบัติ

หมวด 3 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ หมวด 3 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต สอดคล้องตาม OP (8) CS1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ หาเครื่องมือที่เหมาะสม แต่ละกลุ่ม CS2 รับฟังความต้องการ/ความคาดหวัง วางแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม (Common Need) CS 2 พัฒนาบริการ (หมวด 6) - ขอข้อมูล - ขอรับบริการ - ร้องเรียน - กิจกรรม การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี CS4 CS5 CS7 CS3 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ กระบวนการจัดการ ข้อร้องเรียน ติดตามคุณภาพบริการ CS3 วัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ CS6 CS3 ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6)

สื่อสารผล การวิเคราะห์ การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้ หมวด 4 ระบบการวัด ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6) Daily Management - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ IT 1 - 3 นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) การวัด การวิเคราะห์ วิเคราะห์ผล วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผล การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ - ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย IT 4 IT 5,6 สอดคล้องตาม OP (15) IT 7 การจัดการสารสนเทศ IT และความรู้ การจัดการความรู้ ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 1 รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices ถ่ายทอด/Sharing

หมวด 5 สภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจ หาปัจจัย เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน HR 1 หาปัจจัย สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย- การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน กำหนดตัวชี้วัด/วิธีการประเมิน ความผาสุก สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบสวัสดิการ ระบบยกย่อง/จูงใจ ระบบประเมินผล HR 2 ประเมินผล กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น HR 3 จัดลำดับความสำคัญ สอดคล้อง กับผลลัพธ์องค์กร สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน HR 5 ปรับปรุง ความจำเป็น (Training Need) ความต้องการในการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร ทางการ/ไม่ทางการ บุคลากร หน.งาน/ผู้บังคับบัญชา ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) HR 3 องค์กร สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร (หมวด 5.1) ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ HR 4 ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล - ผลการดำเนินงานขององค์กร

การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ หมวด 6 กำหนดกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ PM 2 กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP) องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบ กระบวนการ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ PM 3 เป้าหมายภารกิจ กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ การจัดการกระบวนการ การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ ป้องกัน ความผิดพลาด ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ PM 4 PM 5 ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม OP PM6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ PM6 นวัตกรรม

ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 1 RM 1.1 ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใจทิศทางขององค์การ 60 65 70 75 80 RM 1.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการนำองค์การของผู้บริหาร   RM 1.3 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารใช้ในการติดตามการบริหารงาน RM 1.4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) 90 100 RM 1.5 ระดับความเชื่อมั่นด้านธรรมาภิบาลของผู้รับบริการต่อองค์การ (ค่าเฉลี่ย) 10

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ RM 2.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจ่ายฯ ของส่วนราชการ RM 2.2 ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใจแผนปฏิบัติราชการประจำปี ที่ระดับความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 60 65 70 75 80   RM 2.3 ร้อยละของตัวชี้วัดระดับบุคคลที่สอดคล้องตามเป้าหมายขององค์การ RM 2.4 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของสำนัก/กอง ที่ปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่องค์การกำหนด RM 2.5 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของเป้าหมายของโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง 90 100 11

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย RM 3.1 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ 65 70 75 80 85 RM 3.2 ร้อยละความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ 30 25 20 15 10   RM 3.3 ร้อยละความพึงพอใจของเครือข่ายที่มีต่อกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ 60 RM 3.4 ร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ/ โครงการ ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ 90 100 RM 3.5 ร้อยละของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานคู่มือการให้บริการ 12

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ RM 4.1 ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ 60 70 80 90 100 RM 4.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าถึงหรือเข้ามาใช้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซด์ของส่วนราชการ 65 75   RM 4.3 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 85 RM 4.4 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐตามมาตรฐานข้อมูล statXML RM 4.5 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 95 13

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล RM 5.1 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อองค์การ 60 65 70 75 80 RM 5.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาบุคลากร   RM 5.3 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน RM 5.4 ร้อยละของหลักสูตรการอบรมที่ผ่านเกณฑ์ตามหลักประกันคุณภาพการฝึกอบรม RM 5.5 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงาน 14

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ RM 6.1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อขั้นตอนการปฏิบัติงาน 60 65 70 75 80 RM 6.2 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน   RM 6.3 ร้อยละของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) 30 40 50 RM 6.4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า RM 6.5 จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการดำเนินงานดีขึ้น - 15