กลุ่มพฤติกรรมวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มพฤติกรรมวัยรุ่น กรอบแนวคิด การติดตามประเมินผล กลุ่มพฤติกรรมวัยรุ่น นพ.ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมสุขภาพจิต tprawate@gmail.com www.facebook.com/thaihappiness

กรอบแนวคิดการประเมินติดตาม วิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ (รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยรอบด้าน และวิเคราะห์ปัญหาอย่างเชื่อมโยง) 2. การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนงาน (จัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วม ครอบคลุมมาตรการสำคัญ) 3. ถ่ายทอด ดำเนินการ ติดตามผล

1. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ 1.1 ข้อมูล มีการนำข้อมูลรอบด้านมาใช้ในการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา หรือไม่? ข้อมูล แหล่งข้อมูล ข้อมูลประชากรวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 10-24 ปี   ทะเบียนราษฎร์ จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนทั้งหมด จำนวนประชากรวัยรุ่นในระบบการศึกษา และนอกระบบการศึกษา สพป,สพม,กศน,อาชีวะ,อดุมศึกษา จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนที่ทำงานในสถานประกอบการ แรงงานจังหวัด จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนที่ทำงานในสถานบันเทิง วัฒนธรรมจังหวัด จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนในชุมชน แฟ้มข้อมูลสุขภาพของครอบครัว (Family Folder)

1. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ 1.1 ข้อมูล มีการนำข้อมูลรอบด้านมาใช้ในการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา หรือไม่? ข้อมูล แหล่งข้อมูล ข้อมูลสถานการณ์และสภาพปัญหา Child Watch วิถีชีวิต การใช้เวลาว่าง ความสัมพันธ์กับครอบครัว พื้นที่เสี่ยง อนามัยการเจริญพันธุ์   BSS (สำนักระบาดวิทยา) พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ การใช้ถุงยางอนามัย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ทะเบียนราษฎร์ , สถานบริการสธ. การติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักระบาดวิทยา การติดเชื้อ HIV

ข้อมูล แหล่งข้อมูล สุขภาพจิต รายงานสุขภาพจิตประจำเดือน (506 DS)   รายงานสุขภาพจิตประจำเดือน (506 DS) การทำร้ายตัวเอง การฆ่าตัวตาย สุขภาพและสังคมอื่น Global School-based Student Health Survey พฤติกรรมสุขภาพนักเรียน คดีและความผิดต่างๆ ยาเสพติด ก้าวร้าว/รุนแรง สถานพินิจ / สำนักคุมประพฤติ ผลการดำเนินงานโครงการกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง รายงานจากโรงเรียน, งานอนามัยโรงเรียน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน(พฤติกรรมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ) To Be Number One/Friend Corner รายงานจากอปท.,แรงงานจังหวัด,สถานศึกษา, สสจ. การสอนเพศศึกษารอบด้าน สนง.เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.), สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สสจ. คลินิกวัยรุ่น/สถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน สสจ., รพศ./รพท., รพช. วิจัย/รายงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/รายงานการประชุม รายงานการวิจัย

1. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ 1.2 วิเคราะห์สถานการณ์ 1.2.1 มีการนำข้อมูลในข้อ 1.1 มาวิเคราะห์ให้เห็นสภาพปัญหาของวัยรุ่น 1.2.2 มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา /มาตรการที่ใช้ /บทเรียนที่ ได้รับ 1.2.3 มีการสรุปผลการดำเนินงาน ด้านกระบวนการจัดการภาคีเครือข่ายของ วัยรุ่น: เวที/เครือข่าย 1.2.4 มีการวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยง/ที่ไม่เหมาะสมและสาเหตุของวัยรุ่น ฯลฯ

2. การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนงาน ประเด็นในการติดตาม จังหวัดมีกระบวนการทำยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ (ทุกด้าน) ระดับจังหวัด สสจ อำเภอ ตำบล อย่างไร (การวิเคราะห์สถานการณ์ จัดลำดับความสำคัญของปัญหา ประชาพิจารณ์ การถ่ายทอดแผนฯ มีหน่วยงานใดบ้างมีส่วนร่วม) สภาพปัญหาในพื้นที่คืออะไร และกระบวนการในการคัดเลือกปัญหาและกลุ่มเป้าหมายสอดคล้องกับปัญหาหรือไม่ มีการบูรณาการ/กลไกการทำงาน/ทรัพยากร/ข้อมูล/บทบาทภารกิจ ระหว่างในและนอกหน่วยงาน หรือไม่ อย่างไร

2. การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนงาน มาตรการ/โครงการ/กิจกรรม มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา/ยุทธศาสตร์หรือไม่ ครอบคลุมมาตรการสำคัญในปัจจัยความสำเร็จงานเยาวชนเพียงใด มีการนำผลการดำเนินงาน/ผลสำเร็จ/ปัญหาอุปสรรคมาใช้ในการพัฒนางานหรือไม่ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้แผนงาน/โครงการประสบผลสำเร็จ

ปัจจัยความสำเร็จงานเยาวชน แต่ละคนเสี่ยงไม่เท่ากัน แยกแยะกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาทักษะชีวิต / ความเข้มแข็งทางใจ Resilience ปรับปรุงความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่รอบตัว เยาวชนมีส่วนร่วม เยาวชนร่วมสร้างค่านิยมและความคาดหวังที่ถูกต้องระหว่างกัน การเข้าถึงข้อมูลและบริการที่เป็นมิตร

มาตรการสำคัญตามปัจจัยความสำเร็จ ประเมิน / ปัจจัยเสี่ยง / แยกแยะกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาทักษะชีวิต / ความเข้มแข็งทางใจ / ภูมิคุ้มกันทางจิต ครอบครัว / ครูที่ปรึกษา-แนะแนว / ผู้ใหญ่ในชุมชน เวทีหรือพื้นที่เยาวชน (เยาวชนเป็นเจ้าของ) ข้อมูลและบริการ การประเมินติดตาม

2. การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนงาน มาตรการสำคัญ -วิเคราะห์สภาพปัญหา/กลุ่มเสี่ยง/แยกแยะกลุ่มเป้าหมาย -การจัดค่ายเยาวชนต่างๆหรือจัดเวทีเยาวชนเพื่อพัฒนาทักษะเยาวชน(ควรทำให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย) -ครอบครัว:ค่ายครอบครัว -การพัฒนาครูที่ปรึกษา -การจัดการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษา/ทักษะชีวิต/ความเข็มแข็งทางจิตใจ/ภูมิคุ้มกันทางจิต - ???

3. การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ แผนการดำเนินงาน ได้รับการถ่ายทอดตั้งแต่ระดับนโยบาย ลงสู่ผู้ปฏิบัติจริง มีการประชุมถ่ายทอด ความสอดคล้องของแผนในระดับต่างๆของพื้นที่ (ดูเอกสารและพูดคุยซักถามผู้ปฏิบัติ) มีระบบการติดตามและระบบการรายงานการดำเนินงานเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง (จากรายงานการประชุม/เวป/เอกสาร) ระบบรายงานของจังหวัด การนิเทศติดตามของคณะต่างๆ สรุปการประเมินผลงานรายเดือน/ไตรมาส นำผลงานมาปรับปรุงวิธีการดำเนินงานหรือไม่

3. การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ สามารถทำกิจกรรมได้ตรงตามแผนที่กำหนดไว้ หรือ สามารถบอกปัญหาอุปสรรคจาการดำเนินงานนั้นๆได้หรือไม่ (ดูเอกสารและพูดคุยซักถามผู้ปฏิบัติ)

ตัวอย่างการป้องกันปัญหายาเสพติดในวัยรุ่น นำข้อมูลรอบด้านมาวิเคราะห์ ประเภทผู้ติดยา/จำนวนผู้ติดยา/ ชนิดสารเสพติด/ระยะเวลาติดยา/ พฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดยาฯ/ ระบบคัดกรอง/คดีและความผิดต่างๆ ยาเสพติด ก้าวร้าว/รุนแรง จำแนกกลุ่มเป้าหมาย 1. กลุ่มป่วย/เสพ บำบัด / รักษา สมัครใจ บังคับบำบัด Hard core 2. กลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มปกติ มาตรการ บำบัด คลินิกให้คำปรึกษา รายบุคคล ค่ายบำบัด - ร.ร. นิวัติพลเมือง - ระบบการติดตาม (รายงาน บสต.) ป้องกัน - คลินิกให้คำปรึกษา - To be No1,F/C การใช้เวลาว่างฯ ความรู้เรื่อง ยาเสพติด - สอนทักษะชีวิต/ความเข็มแข็งทางจิตใจ ทีมเฝ้าระวัง ครอบครัวอบอุ่น/ค่าย ครอบครัว มาตรการป้องปราบ ระบบการดูแลช่วยเหลือนร. การจัดค่ายเยาวชนต่างๆหรือจัดเวทีเยาวชน กลยุทธ์/กลไก บูรณาการ (หน่วยงานหลัก เช่น สสจ,คุมประพฤติ, ป้องกันจังหวัด,สพป,สพม, พม,ปปส. ฯลฯ) ดำเนินงาน ระหว่างหน่วยงานในจังหวัด ทุกระดับ แกนนำผู้ติดยาเสพติดใน ชุมชน พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างและพัฒนาเครือข่าย แหล่งที่มาของข้อมูล หน่วยงาน (สถานพินิจ,คุมประพฤติ, ศตส.จ.,ปปส.,เรือนจำ,สถานบริการต่างๆ นักเรียน,สถานประกอบการ, ชุมชน พัฒนาระบบข้อมูล KM/นวัตกรรมพัฒนา ศักยภาพบุคลากร บูรณาการงบประมาณ ในทุกภาคส่วน ประเมินผล ตามตัวชี้วัดของส่วนกลาง เช่น ร้อยละ 70 ผู้เสพ/ผู้ติดผ่านการบำบัด ไม่กลับไปเสพซ้ำ ร้อยละ 75 ของผู้เข้ารับการบำบัดครบตามกำหนด

ตัวอย่างการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การใช้ข้อมูลรอบด้าน -จำนวนวัยรุ่นจำแนก - อายุ/อาชีพ/ -พฤติกรรมเสี่ยงเพศ -เศรษฐานะ ฯลฯ -ผลการดำเนินงาน จำแนกกลุ่มเป้าหมาย 1. กลุ่มปกติ 2. กลุ่มเสี่ยง 3. กลุ่มที่ต้องได้รับ ความช่วยเหลือ มาตรการ - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของนักเรียน (สุขภาพกาย/ทันตกรรม/ชมรมเพื่อนใจวัยรุ่น อย./อสม.น้อย) - จัดกิจกรรม/รณรงค์ เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง (การท้องก่อนวัย/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์) - ส่งเสริมคุณธรรม/จริยธรรม กตัญญูกตเวที/ จิตสาธารณะ - พัฒนายกระดับ ร.ร ส่งเสริมสุขภาพ - คลินิกเป็นมิตรกับวัยรุ่นเน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง - ร.ร พ่อ แม่,ดูแลสุขภาพกาย/จิต/สังคม - บ้านพักฉุกเฉิน,ช่องทางด่วน 1323 ,1667 - คลินิกให้คำปรึกษา - To be No1,F/C การใช้เวลาว่างฯ ความรู้เรื่อง ยาเสพติด - ทักษะชีวิต,ทีมเฝ้าระวัง ,ครอบครัวอบอุ่น, มาตรการป้องปราบ,ระบบการดูแลช่วยเหลือ นร. เพศศึกษารอบด้าน กลยุทธ/กลไก การมีส่วนร่วมของ ภาคีเครือข่าย พัฒนาพื้นที่ต้นแบบ - เสริมสร้างการมีส่วน ร่วม อำเภอละ 1 แห่ง แหล่งที่มาของข้อมูล - สถานบริการสาธารณสุข - Child watch รร. -สถานพิพิจ -สนง.คุมความประพฤติ -พัฒนาสังคม ฯลฯ พัฒนาระบบข้อมูล KM/นวัตกรรมพัฒนา ศักยภาพบุคลากร บูรณาการงบประมาณ ในทุกภาคส่วน ประเมินผล

ขอบคุณครับ