การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

สนามกีฬา.
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
Conductors, dielectrics and capacitance
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
Knowledge Sharing Basic Of Bearing
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
กลุ่มที่ 4 ROCK BOLTS สมาชิกในกลุ่ม 1 นายชัชชัย หนูเจริญ
การเสริมความแข็งแรงของหิน
หินแปร (Metamorphic rocks)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
Rigid Body ตอน 2.
“ความรู้เรื่องกฎจราจร” สถานีตำรวจภูธรอำเภอหาดใหญ่
รถยนต์ตกน้ำจะเอาตัวรอดได้อย่างไร
รูปร่างและรูปทรง.
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
แผ่นดินไหว.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Engineering Graphics II [WEEK5]
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี ราคา ถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ จำกัด ความเร็ว ในกรณีเป็นสาย แบบไม่มีชีลด์ ก็ จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
ประเภทของวัสดุกรอง Biofilter Media Review
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หมีขั้วโลก.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
LOGO ลักษณะ และการใช้งาน เครื่องชั่งที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการเอารัดเอา เปรียบ โดย นายสุรชัย สังข์ศรีแก้ว หัวหน้าศูนย์ชั่งตวงวัดภาคเหนือ ( เชียงใหม่ )
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
ดินถล่ม.
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน 1. การวิเคราะห์ความมั่นคงของมวลก้อนหิน 1.1 ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสตกลงมา 1.2 ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสเลื่อนหลุดลงมา 2. วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดของคานและพื้นใช้กับแนวการทับถมของหิน 2.1 ใช้เป็นส่วนรั้งแนวการทับถมของหินเหนืออุโมงค์ 2.2 การสร้างแนวทับถมเหนืออุโมงค์ให้แข็งแรงขึ้น 3. วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดการส่งถ่ายแรงตามแนวโค้ง

ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสตกลงมา N = จำนวนสมอยึด W = น้ำหนักของหินที่มีโอกาสตกลงมาได้ f = ตัวคูณค่าความปลอดภัย B = load bearing capacity of bolt

ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสเลื่อนหลุดลงมา b = มุมเอียงรอยแตกของหินทำกับแนวราบ f = มุมเสียดทานของหินตรงรอยแตก C = cohesive strength of sliding A = พื้นหินที่ติดกับรอยเลื่อน a = มุมที่ทำกับเส้นแนวตั้งฉากของรอยแตกหินกับสมอยึด

ใช้เป็นส่วนรั้งแนวการทับถมของหินเหนืออุโมงค์ W = f*S*C*h*r h = ความหนาของหินที่ไม่มั่นคง S = ระยะห่างระหว่างสมอยึดตั้งฉากกับแนวการขุด r = ความหนาแน่นของหิน

การสร้างแนวทับถมเหนืออุโมงค์ให้แข็งแรงขึ้น รูปการสร้างแนวทับถมของหินเหนืออุโมงค์ให้แข็งแรงขึ้น

วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดการส่งถ่ายแรงตามแนวโค้ง การหาความยาวของ rock bolts L = 1.4 + 0.184a a = ความกว้างของช่องเปิดแนวราบ(m) และระยะห่างระหว่างสมอหาได้จาก joint density

การติดตั้ง Rock bolting แบบ swellex Manual rock bolting Semi-mechanized rock bolting

การป้องกันการผุกร่อน การ grout เพื่อป้องกันการผุกร่อน เนื่องจากความเป็นเบสของ cement mortar จะป้องกันการผุกร่อนได้ยาวนานอยู่แล้ว แต่สำหรับอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้ร่วมกับ bolts จำเป็นที่ป้องกันอาจใช้สาร galvanized แต่โดยทั่วไปจะนิยมใช้ จาระบี, epoxy

การออกแบบ Rock bolts ข้อสังเกตที่เกี่ยวกับขนาดของสลักยึด 1. ขนาดและความยาวจะขึ้นอยู่กับสภาพของหิน 2. ความยาวของสลักยึดต้องมีค่าอย่างน้อยเท่ากับความหนาของโครงสร้างหินโค้งที่ทำหน้าที่รับแรงโดยรอบอุโมงค์ รวมกับระยะทางเฉลี่ยระหว่างสลักยึดที่อยู่ข้างเคียง 3. ระยะห่างของสลักยึดควรให้เท่ากัน

1. Stability of bolted block 2. Length of bolt l > 1/3b สำหรับหลังคาที่เป็นหินแข็ง l > 1/2b สำหรับหลังคาที่เป็นหินไม่แข็ง l > 0.5+h สำหรับหลังคาที่เป็นชั้นและมีการแยกตัว 3. Diameter of bolt 4. Bolt density เป็นจำนวนสลักต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร