การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน 1. การวิเคราะห์ความมั่นคงของมวลก้อนหิน 1.1 ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสตกลงมา 1.2 ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสเลื่อนหลุดลงมา 2. วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดของคานและพื้นใช้กับแนวการทับถมของหิน 2.1 ใช้เป็นส่วนรั้งแนวการทับถมของหินเหนืออุโมงค์ 2.2 การสร้างแนวทับถมเหนืออุโมงค์ให้แข็งแรงขึ้น 3. วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดการส่งถ่ายแรงตามแนวโค้ง
ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสตกลงมา N = จำนวนสมอยึด W = น้ำหนักของหินที่มีโอกาสตกลงมาได้ f = ตัวคูณค่าความปลอดภัย B = load bearing capacity of bolt
ค้ำยันมวลก้อนหินที่มีโอกาสเลื่อนหลุดลงมา b = มุมเอียงรอยแตกของหินทำกับแนวราบ f = มุมเสียดทานของหินตรงรอยแตก C = cohesive strength of sliding A = พื้นหินที่ติดกับรอยเลื่อน a = มุมที่ทำกับเส้นแนวตั้งฉากของรอยแตกหินกับสมอยึด
ใช้เป็นส่วนรั้งแนวการทับถมของหินเหนืออุโมงค์ W = f*S*C*h*r h = ความหนาของหินที่ไม่มั่นคง S = ระยะห่างระหว่างสมอยึดตั้งฉากกับแนวการขุด r = ความหนาแน่นของหิน
การสร้างแนวทับถมเหนืออุโมงค์ให้แข็งแรงขึ้น รูปการสร้างแนวทับถมของหินเหนืออุโมงค์ให้แข็งแรงขึ้น
วิเคราะห์โดยใช้แนวคิดการส่งถ่ายแรงตามแนวโค้ง การหาความยาวของ rock bolts L = 1.4 + 0.184a a = ความกว้างของช่องเปิดแนวราบ(m) และระยะห่างระหว่างสมอหาได้จาก joint density
การติดตั้ง Rock bolting แบบ swellex Manual rock bolting Semi-mechanized rock bolting
การป้องกันการผุกร่อน การ grout เพื่อป้องกันการผุกร่อน เนื่องจากความเป็นเบสของ cement mortar จะป้องกันการผุกร่อนได้ยาวนานอยู่แล้ว แต่สำหรับอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้ร่วมกับ bolts จำเป็นที่ป้องกันอาจใช้สาร galvanized แต่โดยทั่วไปจะนิยมใช้ จาระบี, epoxy
การออกแบบ Rock bolts ข้อสังเกตที่เกี่ยวกับขนาดของสลักยึด 1. ขนาดและความยาวจะขึ้นอยู่กับสภาพของหิน 2. ความยาวของสลักยึดต้องมีค่าอย่างน้อยเท่ากับความหนาของโครงสร้างหินโค้งที่ทำหน้าที่รับแรงโดยรอบอุโมงค์ รวมกับระยะทางเฉลี่ยระหว่างสลักยึดที่อยู่ข้างเคียง 3. ระยะห่างของสลักยึดควรให้เท่ากัน
1. Stability of bolted block 2. Length of bolt l > 1/3b สำหรับหลังคาที่เป็นหินแข็ง l > 1/2b สำหรับหลังคาที่เป็นหินไม่แข็ง l > 0.5+h สำหรับหลังคาที่เป็นชั้นและมีการแยกตัว 3. Diameter of bolt 4. Bolt density เป็นจำนวนสลักต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร