Lecture Notes EGCE 421 Water Resource Engineering

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
แผ่นดินไหว.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
น้ำและมหาสมุทร.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
โครงสร้างสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
(Applications of Derivatives)
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
What is the optimum stocking rate ?
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การสำรวจทรัพยากรป่าไม้
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
1. แนวความคิดในการศึกษา
7.6 กราฟน้ำไหล (Hydrograph)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
6.7 การเสนอข้อมูล ความชื้นในดิน 1. P W =( วิธีการโดยทั่วไป ) 2. H = P W x BD x H( ใช้ทางด้าน Watershed Mgt) P V = P W x BD( หา P V โดยตรงยุ่งยากลำบาก.
7.5 วิธีการวัดน้ำท่า(streamflow measurement)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
11.7 วิธีการศึกษา Soil Erosion
เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
10.11 ภัยแล้ง (Drought) เป็นสภาวะการขาดแคลนน้ำซึ่งเกิดขึ้นได้หลายกรณี เช่น เป็นช่วงเวลาที่ขาดฝนเป็นระยะเวลานาน ความแห้งแล้งอาจเกิดขึ้นได้ในบางช่วงที่มีความชื้นไม่เพียงพอที่จะให้แก่พืชได้
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
1. บทคัดย่อ 2. คำนำ 3. วิธีดำเนินการ 3.1 การเลือกพื้นที่ เป้าหมายและพื้นที่ ทดสอบ 3.2 การวิเคราะห์พื้นที่ ( วินิจฉัยปัญหา ) 3.3 การวางแผนการทดลอง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture Notes EGCE 421 Water Resource Engineering Department of Civil Engineering Faculty of Engineering, Mahidol University Lecture Notes EGCE 421 Water Resource Engineering Areeya Rittima, D.Eng. E-mail: egart@mahidol.ac.th

Lecture 2 Overview of Hydrology Department of Civil Engineering Faculty of Engineering, Mahidol University Lecture 2 Overview of Hydrology Overview of fundamental hydrology

วัฏจักรอุทกวิทยา Hydrologic cycle Atmospheric Subsystem Surface Subsystem Groundwater Subsystem

การวิเคราะห์ข้อมูลอุทกวิทยาเบื้องต้น ปริมาณการใช้น้ำของพืช -Double Mass Curve Analysis -หาปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ Rainfall-Runoff Model -วิเคราะห์ปริมาณการซึม -หาปริมาณน้ำท่าจากสูตรเอมไพริกัล -Flow Duration Curve -Hydrograph/Unit Hydrograph -วิเคราะห์ปริมาณการระเหย

ประเภทของระบบ 1. Closed System Process Input Output Environment 2. Opened System Process Input Output Environment

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การวิเคราะห์ข้อมูลฝนเบื้องต้น 1. เลือกสถานีที่มีช่วงสถิติข้อมูลยาวและกระจายครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้ำ 2. ผลการวิเคราะห์ฝนสามารถใช้เป็นตัวแทนลุ่มน้ำได้ 3. ข้อมูลฝนทุกสถานีต้องผ่านการทดสอบความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลโดยวิธี Double Mass Curve กรณีที่มีข้อมูลถูกต้อง รูปกราฟจะมีลักษณะเป็นเส้นตรง ส่วนข้อมูลที่เบี่ยงเบนไปจะได้รับการปรับแก้ให้สอดคล้องกับความเป็นจริง

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน Double Mass Curve Analysis

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การหาปริมาณฝนเชิงพื้นที่ 1. วิธีเฉลี่ยโดยเลขคณิต (Arithmetic Mean Method) จำนวนปริมาณฝนของทุกสถานีทั้งในพื้นที่และพื้นที่ข้างเคียง R = (R1+R2+R3+…..+Rn) n ปริมาณฝนในพื้นที่ (mm.) จำนวนสถานีวัดน้ำฝนทั้งหมด

ปริมาณฝนในพื้นที่ (mm.) การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การหาปริมาณฝนเชิงพื้นที่ 2. วิธีทิสเสน (Thiessen Polygon Method) พื้นที่สถานีวัด R = (A1R1+A2R2+A3R3+…..+AnRn) ปริมาณฝนในพื้นที่ (mm.) A1+A2+A3+…..+An จำนวนสถานีวัดน้ำฝนทั้งหมด = (A1R1+A2R2+A3R3+…..+AnRn) A Thiessen’s Coefficient Wn=A1/A = (W1R1+W2R2+W3R3+…..+WnRn)

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การหาปริมาณฝนเชิงพื้นที่ 3. วิธีเส้นชั้นน้ำฝน (Isohyetal Line Method) อาศัยสถิติน้ำฝนที่สถานีต่าง ๆ และรอบ ๆ พื้นที่ที่ต้องการหาและจัดทำเส้นชั้นน้ำฝนชั้นละ 10-20 mm. ค่าเฉลี่ยของปริมาณฝนระหว่าง A1, A2,…..,An R = (A1R1+A2R2+A3R3+…..+AnRn) ปริมาณฝนเฉลี่ยในพื้นที่ (mm.) A1+A2+A3+…..+An พื้นที่ระหว่างเส้นชั้นน้ำฝน

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การหาปริมาณฝนเชิงพื้นที่ 4. วิธีปริมาณฝนกับความสูงของสถานีวัด (Depth-Elevation Method) โดยทั่วไปปริมาณฝนจะเพิ่มขึ้นตามระดับความสูงของสถานีวัด Station1 Station2 Station3 ความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง หาโดยวิธี Least Square

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การหาปริมาณฝนเชิงพื้นที่ ปริมาณฝนในแต่ละสถานีหาได้จากกราฟ Depth-Elevation ของสถานีต่าง ๆ ที่ความสูงเฉลี่ยตามลำดับ จากนั้นปริมาณฝนทั้งหมดจะคำนวณหาได้จาก R = (A1R1+A2R2+A3R3+…..+AnRn) A1+A2+A3+…..+An ปริมาณฝนเฉลี่ยของพื้นที่ A1, A2,…..,An ปริมาณฝนเฉลี่ยในพื้นที่ (mm.) พื้นที่ที่ระดับความสูงต่าง ๆ วิธีนี้เหมาะสำหรับการหาปริมาณฝนเฉลี่ยเป็นระยะเวลานานเช่น ฝนรายเดือน รายปี เป็นต้น

การวิเคราะห์ข้อมูลฝน การหาปริมาณฝนเชิงพื้นที่ 5. วิธีเฉลี่ยระดับความสูง (Mean Arial Elevation Method) วิธีนี้ใช้ในกรณีที่ความสัมพันธ์ของปริมาณฝนและความสูงของสถานีวัดมีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง ค่าพารามิเตอร์ของแต่ละพื้นที่ Ri = a+bhi ปริมาณฝนเฉลี่ยในพื้นที่ (mm.) ความสูงของสถานี

การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่า การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่าเบื้องต้น สูตรเอมไพริกัล (Empirical Formula) วิเคราะห์เหนือเขื่อน Q = aAb เขื่อน เมื่อ Q = ปริมาณน้ำท่ารวมเฉลี่ยรายปี (mcm) A = พื้นที่รับน้ำฝน (sq.km.) a,b = พารามิเตอร์ของแต่ละพื้นที่ วิเคราะห์ใต้เขื่อน

การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่า การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่าเบื้องต้น Rational Method นิยมใช้ในการคำนวณหาอัตราการไหลสูงสุดของลุ่มน้ำขนาดเล็ก Q = ciA เมื่อ Q = อัตราการไหลสูงสุด (cms) c = สัมประสิทธิ์น้ำท่า = Runoff/Precipitation i = ความเข้มฝน (mm/hr) A = พื้นที่รับน้ำ (sq.km.)

การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่า การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่าเบื้องต้น ข้อจำกัดของ Rational Method -ใช้เฉพาะลุ่มน้ำที่มีขนาดไม่เกิน 13 sq.km -สมมุติว่าอัตราการดูดซับน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำมีค่าคงที่ -ไม่คำนึงถึงกระบวนการในการเปลี่ยนฝนเป็นน้ำท่า

การวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่า การวิเคราะห์ Flow-Duration Curves โค้งอัตราการไหล-ช่วงเวลา (Flow-Duration Curve) คือ โค้งความถี่สะสมซึ่งให้ข้อมูลสัดส่วนของเวลาที่อัตราการไหลมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับค่าที่กำหนด (Searcy, 1959)

การแผ่กระจายของปริมาณฝนในระดับ Region ฝน-น้ำท่า การแผ่กระจายของปริมาณฝนในระดับ Region ฝน น้ำท่า การวางแผนการใช้น้ำ การป้องกันอุทกภัย/ภัยแล้ง ปริมาณฝนในระดับ Region

แบบจำลองฝน-น้ำท่า Ranfall-Runoff Model TANK Model Standford Watershed Model SCS Model, Sacramento Model

การวิเคราะห์ข้อมูลการระเหย การวิเคราะห์ปริมาณการระเหย อัตราการระเหย (Evaporation Rate) Erate = Kp*Ep เมื่อ Kp = Pan Coefficient ~0.8 Ep = อัตราการระเหยจาก Class-A Pan (mm/day) ปริมาณการระเหย (Evaporation) Evaporation = Erate*Area เมื่อ Area = พื้นที่ผิวน้ำ (sq.m)

การวิเคราะห์ข้อมูลการระเหย การวิเคราะห์ปริมาณการซึม การซึม (Infiltration) คือ กระบวนการที่น้ำไหลซึมผ่านผิวดินลงไปตามช่องว่างระหว่างเม็ดดินสู่พื้นดินที่อยู่ลึกลงไป ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการซึม 1) สภาพผิวหน้าดินและพืชปกคลุมดิน 2) คุณสมบัติของดิน -ความพรุน (Porosity) -ความนำเชิงชลศาสตร์ (Hydraulic Conductivity) 3) ความชื้นในดิน 4) ฯลฯ

เครื่องมือวัดระดับน้ำ Simple vertical staff Sectional staff Staff gauge Inclined staff

เครื่องมือวัดน้ำฝน Rain Gauge

เครื่องมือวัดน้ำฝน Tipping Bucket Rain Gauge

เครื่องมือวัดปริมาณการระเหย Class-A Pan

เครื่องมือวัดปริมาณการระเหย Double Ring Infiltrometer

เครื่องมือวัดปริมาณการใช้น้ำของพืช Lysimeter

เครื่องมือวัดความเร็วน้ำ Current Meter

ปริมาณการใช้น้ำของพืช ปริมาณการใช้น้ำของพืช (Evapotranspiration) เป็นปริมาณน้ำทั้งหมดที่สูญเสียจากพื้นที่เพาะปลูกสู่บรรยากาศในรูปของไอน้ำ 1. ปริมาณน้ำที่พืชดูดไปจากดิน : นำไปสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อ และคายออกทางใบไปสู่บรรยากาศ เรียกว่า การคายน้ำ (Transpiration) 2. ปริมาณน้ำที่ระเหยจากผิวดินบริเวณรอบ ๆ ต้นพืช เรียกว่า การระเหย (Evaporation)

ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการใช้น้ำของพืช

ปริมาณการใช้น้ำของพืช ปริมาณการใช้น้ำของพืช (Evapotranspiration) 1. การใช้อัตราส่วนการคายน้ำของพืช (วิธีดั้งเดิม) 2. การวัดโดยตรง -การวัดจากถังวัดการใช้น้ำของพืช (Lysimeter) -ศึกษาจากความชื้นในดิน -ศึกษาจากแปลงทดลอง 3. การคำนวณการใช้น้ำของพืชอ้างอิง