กรอบและหลักการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดย รองเลขาธิการ ก.พ.ร. (นายนครเขตต์ สุทธปรีดา)
ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2. กรอบและหลักการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 หลักการ ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2557 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล (60) ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด (กำหนดตามแผนยุทธศาสตร์ ที่มีแผนงาน/โครงการ) 1.1 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (เลือกเฉพาะยุทธศาสตร์สำคัญของกลุ่มจังหวัด) 1.2 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์จังหวัด (ที่สะท้อนความสำเร็จตามยุทธศาสตร์สำคัญของจังหวัด) หมายเหตุ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด และตัวชี้วัดยุทธศาสตร์จังหวัดควรมี ไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด (60) (15) (45) การประเมินคุณภาพ (10) 2. คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (งานบัตรประชาชนและทะเบียนราษฏร์ งานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม งานบริการจัดหางาน งานบริการผู้ป่วยนอก งานการถ่ายทอดความรู้และการให้บริการทางการเกษตร และงานประกันสังคม) (10) มิติภายใน 30 การประเมินประสิทธิภาพ (10) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (20) 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 6. การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ หมายเหตุ ประเมิน 1 งานบริการที่จังหวัดเลือก จากตัวชี่วัดที่ 2 รวม 100 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัดต้องสอดรับ กับยุทธศาสตร์ประเทศ/ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 หรือมีงบประมาณรองรับ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด เลือกเฉพาะยุทธศาสตร์ สำคัญของกลุ่มจังหวัดซึ่งทุกจังหวัดควรมีส่วนร่วม ตัวชี้วัดที่กำหนดต้องสามารถวัดผลได้ในปีงบประมาณ หากตัวชี้วัดใดไม่สามารถวัดผลได้ภายในปีงบประมาณ จะถูกกำหนดเป็นตัว Monitor ทั้งนี้ มีการกำหนดตัวชี้วัด monitor บังคับ ของ ทุกจังหวัด ดังนี้ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ค่าเฉลี่ย O-NET (ป.6 ม.3 และ ม.6) ผลิตภาพแรงงานรายจังหวัด 4. ตัวชี้วัดการประเมินด้านประสิทธิผล ควรมีไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพการให้บริการ วัดความพึง พอใจของผู้รับบริการที่มีต่องานบริการที่เป็นความ ต้องการพื้นฐานของประชาชนจำนวนมากภายใน จังหวัด 6 งานบริการ
รายการตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ตัวอย่าง 1 ด้าน การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2 ด้าน การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.1 เกษตร 1.2 ท่องเที่ยว 1.3 การค้า 1.4 อุตสาหกรรม 2.1 สิ่งแวดล้อม 2.2 สังคม 2.3 อื่น ๆ 2.1.1 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (น้ำ/อากาศ/หมอกควัน/ขยะ) 2.1.2 อุตสาหกรรมสีเขียว 2.1.3 จำนวนป่าเสื่อมโทรมที่ได้รับการฟื้นฟู มูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ผลผลิตการเกษตรเฉลี่ยต่อหน่วยการผลิต จำนวนแปลงฟาร์มที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP รายได้จากการท่องเที่ยว รายได้จากการจำหน่าย OTOP มูลค่าการค้าชายแดน และการค้าผ่านแดน มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์ฮาลาล มูลค่าการลงทุนด้านอุตสาหกรรม 2.2.1 การแก้ไขปัญหาการ ก่อเหตุรุนแรงใน พื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ 2.2.2 การป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด 2.2.3 การป้องกันและ ปราบปรามคดี อาชญากรรม 2.2.4 จำนวนครัวเรือน ยากจนที่มีรายได้ ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 2.3.1 สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายที่ผ่าน เกณฑ์อาหารปลอดภัย 2.3.2 อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคที่เป็น ปัญหาสำคัญของประเทศ 2.3.3 จำนวนสถานบริการสุขภาพที่มี คุณภาพมาตรฐานตามที่กำหนด 2.3.4 อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่าของ ประชากรกลุ่มอายุ 15-17 ปี 2.3.5 จำนวนแรงงานที่ได้รับการบรรจุงาน ในประเทศ 2.3.6 จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ การจราจรทางบก
หลักการกำหนดตัวชี้วัดของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด 1. การกำหนด KPI ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดควรครอบคลุมทั้งยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการ แข่งขัน (Growth & Competitiveness) และการสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียม (Inclusive Growth) /เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) การกำหนด KPI กลุ่มจังหวัดทุกจังหวัดต้องมีส่วนร่วมดำเนินการ สำหรับยุทธศาสตร์การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) ด้านการท่องเที่ยว และ ด้านการเกษตร ให้ใช้หลักการในการกำหนด KPI ดังนี้ การท่องเที่ยว การเกษตร ให้วัด “รายได้จากการท่องเที่ยว” เป็น KPI หลัก กำหนด KPI “รายได้จากการท่องเที่ยว” ซ้ำระหว่าง กลุ่มจังหวัด - จังหวัด ได้ในกรณี เป็นจังหวัดที่มีรายได้จากการท่องเที่ยว สูงเป็นรายได้หลัก หรือมีมูลค่าสูงเมื่อ เทียบกับรายได้อื่น ในกรณีจังหวัดที่มีรายได้จากการ ท่องเที่ยวไม่สูงมาก แต่ไม่มียุทธศาสตร์ อื่นที่สำคัญกว่า ให้ระบุชื่อผลผลิตทางการเกษตรที่ชัดเจน เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา กุ้ง ปลา ฯลฯ ที่เป็น Revenue Driver สำคัญของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ให้วัด “มูลค่าผลผลิตทางเกษตรสำคัญ” เป็น KPI หลัก กรณีมียุทธศาสตร์อื่นด้านการเกษตรที่เฉพาะเจาะจง ในกรณีต่างๆ : กรณีมียุทธศาสตร์ด้านการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุง กระบวนการผลิต ให้วัด “ผลผลิตต่อหน่วย (Yield)” กรณีมียุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานการผลิตหรือส่งเสริม การส่งออก ให้วัด “การรับรองมาตรฐาน GAP” 4. สำหรับยุทธศาสตร์การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียม (Inclusive Growth) /เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) ให้ใช้หลักการในการกำหนด KPI โดยพิจารณาจากตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดของ สศช. ที่เป็นจุดอ่อนของจังหวัดเป็นลำดับแรก
3. กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ 3. กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ 3.1 วิธีการในการจัดทำคำรับรองฯ สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำคำรับรองฯ เป็นรายจังหวัด คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลกลุ่มจังหวัดและจังหวัด เป็นผู้พิจารณา ตัวชี้วัดมิติภายนอก การประเมินประสิทธิผล ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2557 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 70 การประเมินประสิทธิผล (60) ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด (กำหนดตามแผนยุทธศาสตร์ ที่มีแผนงาน/โครงการ) 1.1 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (เลือกเฉพาะยุทธศาสตร์สำคัญของกลุ่มจังหวัด) 1.2 ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์จังหวัด (ที่สะท้อนความสำเร็จตามยุทธศาสตร์สำคัญของจังหวัด) หมายเหตุ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด และตัวชี้วัดยุทธศาสตร์จังหวัดควรมีไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด (60) (15) (45) การประเมินคุณภาพ (10) 2. คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ (งานบัตรประชาชนและทะเบียนราษฏร์ งานจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม งานบริการจัดหางาน งานบริการผู้ป่วยนอก งานการถ่ายทอดความรู้และการให้บริการทางการเกษตร และงานประกันสังคม) (10) มิติภายใน 30 การประเมินประสิทธิภาพ (10) 3. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (5) 4. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (20) 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) 6. การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ หมายเหตุ ประเมิน 1 งานบริการที่จังหวัดเลือก จากตัวชี่วัดที่ 2 รวม 100 คณะกรรมการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัดฯ เป็นผู้พิจารณาคำขออุทธรณ์ตัวชี้วัดกลุ่มจังหวัด/จังหวัด รอบระยะเวลาในการอุทธรณ์ฯ รอบ 6 เดือน และ 12 เดือน สำนักงาน ก.พ.ร. จ่ายเงินรางวัลฯ เป็นรายจังหวัดตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.ร. กำหนด
1. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลกลุ่มจังหวัดและจังหวัด 3. กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ (ต่อ) 3.2 คณะกรรมการ 1. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ลำดับที่ รายชื่อคณะกรรมการ ตำแหน่ง 1 นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ ประธานกรรมการ 2 เลขาธิการ ก.พ.ร. กรรมการ 3 นายกอปร กฤตยากีรณ 4 นายการุณ กิตติสถาพร 5 นายมนุชญ์ วัฒนโกเมร 6 นางวันเพ็ญ กฤตผล 7 นายสนิท อักษรแก้ว 8 นายสุธี มากบุญ 9 นายอาชว์ เตาลานนท์ 10 เจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. เลขานุการ
2. คณะกรรมการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัดฯ 3. กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ (ต่อ) 3.2 คณะกรรมการ (ต่อ) 2. คณะกรรมการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัดฯ ลำดับที่ รายชื่อคณะกรรมการ ตำแหน่ง 1 นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ ประธานกรรมการ 2 เลขาธิการ ก.พ.ร. กรรมการ 3 นายกอปร กฤตยากีรณ 4 นายการุณ กิตติสถาพร 5 นายปรัชญา เวสารัชช์ 6 นายสนิท อักษรแก้ว 7 เจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. เลขานุการ 8 ผู้ช่วยเลขานุการ
3. กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ (ต่อ) 3. กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการฯ (ต่อ) 3.3 ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด กำหนด กรอบการ ประเมินผล ของจังหวัด สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำร่างตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ส่งให้กลุ่มจังหวัดและจังหวัดพิจารณา* เจรจาข้อตกลง และจัดทำ คำรับรองฯ ของกลุ่มจังหวัด และจังหวัด ติดตาม รอบ 6 เดือน ประเมินผลรอบ 12 เดือน ของจังหวัด จัดสรรสิ่งจูงใจ ในระดับจังหวัด ก.พ.ร หมายเหตุ : กรณีที่กลุ่มจังหวัด/จังหวัดไม่เห็นด้วยกับประเด็นยุทธศาสตร์และ/หรือตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด กลุ่มจังหวัด/จังหวัดสามารถเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ใหม่ และ/หรือตัวชี้วัดอื่นที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์นั้นๆ ได้ โดยต้องชี้แจงเหตุผลที่ชัดเจน และต้องเจรจาข้อตกลงและประเมินผลกับคณะกรรมการเจรจาฯ