รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ หมายความว่า
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย นางสาวโสภา กาฬภักดี.
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเลือกตั้ง (Election)
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การบริหารงานบุคคล กับคุณธรรมและจริยธรรม ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความรู้พื้นฐาน กับกฎหมายสาธารณสุข กานต์ เจิมพวงผล
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรบริหารบุคลากรท้องถิ่น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
3.การจัดทำงบประมาณ.
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
การบริหารราชการแผ่นดิน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รัฐเดี่ยวรัฐรวมแตกต่างกันอย่างไร
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย นายประยูร พรหมพันธุ์ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น

สารบัญ วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น

รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ รัฐธรรมนูญ มาตรา 1 หมวดที่ 1 “ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้” รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 “ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ประเทศไทยเป็น “รัฐเดี่ยว” (UNITARY STATE)

รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ (ต่อ) รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ (ต่อ) การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งได้ 3 ระดับ (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 4) - ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง - ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค - ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ. บริหารราชการแผ่นดิน อำนาจอธิปไตย SOVEREIGNTY อำนาจนิติบัญญัติ Legislative อำนาจบริหาร Executive อำนาจตุลาการ Jurisdiction - ใช้อำนาจทางศาลยุติธรรม ใช้อำนาจทางสภาผู้แทน และวุฒิสภา การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ. บริหารราชการแผ่นดิน 1.ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง Centralization 2.ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค Deconcentration 3.ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น Decentralize ได้แก่กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ในส่วนกลาง (เมืองหลวง) นายกรัฐมนตรี และ ครม.เป็นผู้ใช้ อำนาจในนามรัฐบาลแห่งชาติ แบ่งมอบอำนาจให้กับภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด และอำเภอ โดยมี ผวจ. และ นอภ. เป็น หน.ข้าราชการ ในระดับที่เกี่ยวข้อง กระจายอำนาจให้ อปท. ต่างๆ ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้ง กทม. พัทยา อบจ. เทศบาลต่างๆ (ตำบล เมือง นคร) อบต. (เล็ก กลาง ใหญ่)

วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น แบ่งเบาภาระของราชการส่วนกลาง หลักการแบ่งงานกันทำ (Division of Work) ประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้การปกครองตนเอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ของประชาชนในท้องถิ่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในทางปฏิบัติ

รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย หลักการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและประชาชน หลักการเกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ อปท. การส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การมีส่วนร่วมในการออกเสียงลงประชามติ

รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย (ต่อ) หลักการตรวจสอบการบริหารจัดการของ อปท. โดยประชาชนในท้องถิ่น กำหนดให้มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินงานของ อปท. โดยภาคประชาชน กำหนดให้มีระบบตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานของ อปท. ในลักษณะไตรภาคี ประชาชนมิสิทธิเข้าชื่อถอดถอนผู้บริหาร คณะผู้บริหาร และสมาชิกสภาท้องถิ่น

สาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น พันธกิจหลักของ อปท. ที่มีต่อประชาชน คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารและข้าราชการท้องถิ่น การปฏิรูประบบบริหารงานบุคคลของ อปท. การปรับปรุงระบบการกำกับดูแล อปท. การกำหนดกระบวนการบริหารงานของ อปท. ให้ชัดเจนรัดกุมยิ่งขึ้น การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับข้าราชการส่วนท้องถิ่น (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542)

เอกสารอ้างอิง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (รวมทั้งฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ) พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และและฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546 พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546

เอกสารอ้างอิง (ต่อ) พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์กรบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542

สวัสดี สวัสดี