การประมาณค่า (Estimation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
ความน่าจะเป็น (Probability)
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Chapter 8: Interval Estimation
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
การประมาณค่าพารามิเตอร์และ ขนาดของตัวอย่าง
การประมาณค่าทางสถิติ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (Standard Error of Estimate: SEE)
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
2-test.
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
การทดสอบสมมติฐาน
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
แนวทางการนำเสนอข้อมูลจากการวิเคราะห์ โดยใช้ Logistic Regression
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
หลักการแปลผล สรุปผล II
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
Chi-square Test for Mendelian Ratio
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประมาณค่า (Estimation) ผศ.นิคม ถนอมเสียง ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Email nikom@kku.ac.th web http://home.kku.ac.th/nikom

สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) อธิบาย สรุป คุณลักษณะของตัวอย่าง 2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) สรุป อ้างอิงไปถึงประชากร ประกอบด้วย -การทดสอบสมมุติฐาน (Hypothesis testing) -การประมาณค่า (Estimation)

ประชากร ประชากร ระดับ LDL ของผู้ป่วยเบาหวานมีค่าอย่างไร การเกิดหอบหืดของประชาชนในเขตเมือง มีค่าเท่าไร

ประชากร การประมาณค่า (Estimation) แบบจุด Point Estimation แบบช่วง Interval Estimation ประชากร แบบช่วง Interval Estimation 95% ช่วงเชื่อมั่นของค่า LDL มีค่าเท่ากับ 85 ถึง 140 แบบจุด Point Estimation ตัวอย่าง ค่าเฉลี่ยระดับ LDL ของผู้ป่วยเบาหวานเท่ากับ 110

การประมาณค่าพารามิเตอร์แบบช่วงเชื่อมั่น ถ้า พารามิเตอร์ที่สนใจ คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) กลุ่มเดียว - ประมาณ “ต้องการประมาณค่าเฉลี่ย blood glucose ของผู้ป่วยเบาหวาน” 2 กลุ่ม - ความแตกต่างค่าเฉลี่ย “ประมาณความแตกต่าง ค่าเฉลี่ย ความดันโลหิต ของคนสูบบุหรี่ และคนไม่สูบบุหรี่”

การประมาณค่าแบบช่วงเชื่อมั่น Lower ตัวประมาณ Estimator Upper Confidence limit Confidence limit ปัจจัยที่มีผลต่อช่วงเชื่อมั่น ความกว้าง แคบ ของช่วงเชื่อมั่น ขึ้นอยู่กับค่าอะไรบ้าง ?

ความผิดพลาดของช่วงเชื่อมั่น alpha ( ) น้อย มาก กว้าง แคบ Alpha ช่วงเชื่อมั่น ความผิดพลาดในการประมาณควรจะผิดพลาดข้างมากหรือข้างน้อย ? ถ้าให้ = ความผิดพลาด Confidence interval Lower confidence limit Upper confidence limit

ความผิดพลาดมาก ช่วงความเชื่อมั่นจะแคบ ถ้าให้ความผิดพลาดในการประมาณ = 95% 99% ความผิดพลาดมาก ช่วงความเชื่อมั่นจะแคบ ความผิดพลาดน้อย ช่วงความเชื่อมั่นจะกว้าง

ประชากร I ประชากร II ประชากร III ความแปรปรวน ความแปรปรวนน้อย ช่วงเชื่อมั่นจะแคบ ความแปรปรวนมาก ช่วงเชื่อมั่นจะกว้าง

เมื่อ คววมแปรปรวนและค่าเฉลี่ยเท่ากัน ขนาดตัวอย่าง . cii 5 120 5 Variable | Obs Mean Std. Err. [95% Conf. Interval] -------------+-------------------------------------------------------- | 5 120 2.236068 113.7917 126.2083 . cii 100 120 5 | 100 120 .5 119.0079 120.9921 เมื่อ คววมแปรปรวนและค่าเฉลี่ยเท่ากัน การเปลี่ยนแปลงค่า n มีผลต่อ standard error

การประมาณค่าแบบช่วงเชื่อมั่น ตัวประมาณ สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น x ค่าคาดเคลื่อน Estimator Reliability coefficient x Standard Error Lower ตัวประมาณ Estimator Upper Confidence limit Confidence limit

การประมาณค่าแบบช่วงเชื่อมั่น ตัวประมาณ สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น x ค่าคาดเคลื่อน Lower ตัวประมาณ Estimator Upper Confidence limit Confidence limit

ช่วงเชื่อมั่น (confidence interval) Lower confidence limit Upper confidence limit

การประมาณค่าแบบช่วงเชื่อมั่น: ที่มา

ความหมายของช่วงเชื่อมั่น สีแดง = อยู่ในช่วง 95 ค่า น้ำเงิน = อยู่นอกช่วง 5 ค่า

ความหมายของช่วงเชื่อมั่น -ช่วงความเชื่อมั่นที่ เมื่อมีการสุ่มตัวอย่าง n จากประชากรเดียวกัน 100 ครั้ง สร้างช่วงเชื่อมั่นได้ 100 ช่วง โอกาสที่จะพบว่าช่วงเชื่อมั่นอยู่ ในช่วงที่กำหนด ช่วง (ไม่อยู่ในช่วงที่กำหนด ช่วง) -แต่ความเป็นจริงมีการศึกษา 1 ครั้ง ดังนั้น อธิบายได้ว่า “ ช่วงเชื่อมั่นจะมีค่าพารามิเตอร์อยู่ในช่วง” เช่น “ด้วยความเชื่อมั่น 95% ค่าเฉลี่ยของค่า systolic BP จะมีค่าอยู่ในช่วง 100.37 ถึง 139.63 mm.Hg”

การประมาณช่วงเชื่อมั่นค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว กรณีทราบค่าความแปรปรวนของประชากร -เมื่อทราบค่า จะใช้การแจกแจง Z ตัวอย่าง นักวิจัยต้องการประมาณช่วงเชื่อมั่นค่าเฉลี่ยที่ระดับ ช่วงเชื่อมั่นที่ 95% ของ Systolic Blood Pressure ข้อมูลประกอบด้วย 100 110 120 130 140 (ถ้าทราบความแปรปรวนของประชากร = 225)

-ขั้นตอนที่ 1 หาตัวประมาณ (ค่าเฉลี่ย = 120) -ขั้นตอนที่ 2 หา SE = -ขั้นตอนที่ 3 กำหนดความผิดพลาด 0.05 หาสัมประสิทธิ์ ความเชื่อมั่น 106.85, 133.15 ช่วงเชื่อมั่นที่ 95% ของค่าเฉลี่ย Systolic Blood Pressure มีค่าระหว่าง 106.85 ถึง 133.15 mm.Hg

การประมาณช่วงเชื่อมั่นค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว กรณีไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร -เมื่อไม่ทราบค่า จะใช้การแจกแจง t

เมื่อไม่ทราบความแปรปรวน - ใช้ค่า S แทน - ใช้การแจกแจง t แทนการแจกแจงแบบ Z ช่วงเชื่อมั่นได้แก่

N มาก t มีค่า ใกล้เคียงกับ Z การแจกแจง Z และ t

การแจกแจงแบบ T คล้ายกับการแจกแจงแบบ Z การอ่านผลจากตาราง ต้อง พิจารณาจากค่า DF=Degree of Freedom (ชั้นของการเป็นอิสระ) ด้วย Critical Values of Student's t df .10 .05 .025 .01 .005 .0005 1 3.078 6.314 12.706 31.821 63.657 636.619 2 1.886 2.920 4.303 6.965 9.925 31.599 3 1.638 2.353 3.182 4.541 5.841 12.924 4 1.533 2.132 2.776 3.747 4.604 8.610 ... 28 1.313 1.701 2.048 2.467 2.763 3.674 29 1.311 1.699 2.045 2.462 2.756 3.659 30 1.310 1.697 2.042 2.457 2.750 3.646 35 1.306 1.690 2.030 2.438 2.724 3.591 … 1.282 1.645 1.960 2.326 2.576 3.291

ตัวอย่าง นักวิจัยต้องการประมาณช่วงเชื่อมั่นค่าเฉลี่ยที่ระดับ ช่วงเชื่อมั่น 95% ของ Systolic Blood Pressure ข้อมูลประกอบด้วย 100 110 120 130 140 -ขั้นตอนที่ 1 หาตัวประมาณ (ค่าเฉลี่ย = 120) -ขั้นตอนที่ 2 หา SE = -ขั้นตอนที่ 3 กำหนดความผิดพลาด 0.05 สามารถหา สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น . di invttail(4,.025) 2.7764451

ช่วงเชื่อมั่นได้แก่ ช่วงเชื่อมั่นที่ 95% ของค่าเฉลี่ย Systolic Blood Pressure มีค่าระหว่าง 100.38 ถึง 139.63 mm.Hg