พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
Department of Computer Business
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.III.
Lecture no. 5 Control Statements
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Arrays and Pointers.
Structure.
PHP LANGUAGE.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
Lecture no. 6 Structure & Union
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 9 Structure.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
โปรแกรมยูทิลิตี้.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter 6 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ เป็นตัวแปรชนิดหนึ่ง ที่ทำหน้าที่ในการเก็บตำแหน่งที่อยู่ (Address) ของตัวแปรหรือข้อมูลที่มีอยู่ในหน่วยความจำ โดยที่ตัวมันเองไม่ได้เก็บข้อ มูลเพียงแต่ชี้ไปยังที่เก็บข้อมูลอีกทีหนึ่ง ทำให้การทำงานของโปรแกรม กระชับขึ้น 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ การประกาศตัวแปรพอยน์เตอร์ รูปแบบ Type *variablename * = เป็นเครื่องหมายที่กำหนดว่าเป็นตัวแปรพอยน์เตอร์ variablename = ชื่อตัวแปร Example int *ptr; char *pt; float *ft; 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ เครื่องหมายที่ใช้กับพอยน์เตอร์ - เครื่องหมาย & ใช้สำหรับกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับพอยน์เตอร์ โดยการนำเอาตำแหน่งที่อยู่ (Address) ของตัวแปรในหน่วยความจำมาใช้งาน - เครื่องหมาย * ใช้สำหรับนำเอาข้อมูลในตำแหน่งที่ตัวแปรพอยน์เตอร์นั้นชี้อยู่ ออกมาใช้งาน 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ เครื่องหมายที่ใช้กับพอยน์เตอร์ Example int a, *b; a=10; printf(“a = %d”,*b); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ คณิตศาสตร์ของพอยน์เตอร์ ตัวแปรพอยน์เตอร์สามารถใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์มากระทำได้เช่นเดียวกับตัวแปรทั่ว ๆไป แต่ไม่สามารถใช้ได้ทั้งหมด เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ได้ คือ 1. เครื่องหมาย + คือ การบวก 2. เครื่องหมาย - คือ การลบ 3. เครื่องหมาย ++ คือ การเพิ่มค่าครั้งละ 1 4. เครื่องหมาย -- คือ การลดค่าครั้งละ 1 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ คณิตศาสตร์ของพอยน์เตอร์ Example p++; p--; p = p + 2; หมายเหตุ การเพิ่มหรือลดค่าของพอยน์เตอร์จะขึ้นอยู่กับชนิดของตัวแปร นั้น ๆ ด้วย 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ เครื่องหมายเปรียบเทียบของพอยน์เตอร์ >, < มากกว่า , น้อยกว่า >=,<= มากกว่าหรือเท่ากับ , น้อยกว่าหรือเท่ากับ = = , != เท่ากับ , ไม่เท่ากับ 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์และอาร์เรย์ พอยน์เตอร์และอาร์เรย์มีความสัมพันธ์กันอย่างมาก สามารถใช้งานแทนกันได้ ข้อดีของพอยน์เตอร์ คือ การใช้งานเร็วกว่าและไม่เปลืองเนื้อที่ ข้อเสียของพอยน์เตอร์ คือ เข้าใจยากกว่า 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์และอาร์เรย์ 1 มิติ Example int x[5]={1,2,3,4,5}; int *px; px = x; *px = *(px+1) + (*(px+2)); printf(“%d + %d = %d”,*(px+1),*(px+2),*px); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์และอาร์เรย์หลายมิติ การเก็บข้อมูลในหน่วยความจำของตัวแปร Array หลายมิติจะเรียงลำดับเช่นเดียวกับ Array มิติเดียว เพียงแต่ตำแหน่งที่อยู่จะประกอบด้วยตัวเลข 2 หลักหรือมากกว่า ดังนั้นการใช้งานพอยน์เตอร์ก็สามารถใช้ได้ โดยการใช้ตัวเลข 2 หลักหรือมากกว่า กำหนดตำแหน่งเช่นเดียวกัน 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์และอาร์เรย์หลายมิติ Example int x[2][3]={1,2,3, 4,5,6}; *(*(x+1)+0) = *(*(x+1)+1) + (*(*(x+1)+2)); printf(“%d + %d = %d”,*(*(x+1)+1),*(*(x+1)+2), *(*(x+1)+0)); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์และสตริง สตริงเป็น Array ที่เก็บตัวอักษรเรียงต่อ ๆ กันไป และปิดท้ายด้วย “\0” เพื่อแสดงการสิ้นสุดของข้อความ ดังนั้นจึงสามารถประกาศตัวแปรเป็นPointer เพื่อเก็บข้อความในลักษณะเดียวกับ Array ได้เช่นกัน รูปแบบ char *ch; สามารถใช้งานได้เหมือนกับ Array ทั่วไป 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

พอยน์เตอร์ พอยน์เตอร์และสตริง Example char *ch; ch=“Computer”; printf(“ch = %s”,ch); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business