Variable Data type Arithmetic operator

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
Computer Language.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
Introduction to C Programming
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
Lecture no. 2: Overview of C Programming
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Javascripts.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
สตริง (String).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Object-Oriented Programming
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ภาษา C เบื้องต้น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Variable Data type Arithmetic operator

ตัวแปร (Variable) ใช้………………………………….. ระหว่างที่โปรแกรมทำงาน ซึ่งค่านี้จะถูกเก็บไว้ ในหน่วยความจำ โดยจะมีชื่อตัวแปรไว้อ้างอิงตำแหน่งในหน่วยความจำ ว่าเก็บไว้ ตำแหน่งใด ตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงค่าที่เก็บได้ ก่อนจะสร้างตัวแปรจะต้อง รู้ชนิดของข้อมูล ว่าข้อมูลที่ต้องการเก็บนั้นมีประเภทใด : ข้อความ, ตัวเลขจำนวนเต็ม, ทศนิยม, ค่าความจริง ... รู้ขนาดของข้อมูลที่ต้องการเก็บ : ตัวเลขที่ใช้มีกี่หลัก, ข้อความมี ประมาณกี่อักขระ

การตั้งชื่อตัวแปร ต้องขึ้นต้นด้วย a – z หรือ A-Z หรือ _ (underscore) ตำแหน่งถัดไปสามารถเป็นตัวอักษร หรือ ตัวเลข หรือ _ ได้ ไม่สามารถขึ้นต้นด้วยตัวเลข ไม่ให้มีการเว้นวรรค ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมายได้ดี ไม่ใช้ชื่อตัวแปรที่ซ้ำกับคำสงวน หรือคีย์เวิร์ด

__abstract 2 abstract __alignof Operator array __asm __assume __based bool __box 2 break case catch __cdecl char class const const_cast continue __declspec default __delegate 2 delegate delete deprecated 1 dllexport 1 dllimport 1 do double dynamic_cast else enum enum class enum struct event __event __except explicit extern false __fastcall __finally finally float for for each, in __forceinline friend friend_as __gc 2 gcnew generic goto __hook 3 __identifier if __if_exists __if_not_exists initonly __inline inline int __int8 __int16 __int32 __int64 __interface interface class interface struct interior_ptr __leave literal long __m64 __m128 __m128d __m128i

__multiple_inheritance mutable naked 1 namespace new __nogc 2 noinline 1 __noop noreturn 1 nothrow 1 novtable 1 nullptr operator __pin 2 private __property 2 property property 1 protected public __raise ref struct ref class register reinterpret_cast return safecast __sealed 2 sealed selectany 1 short signed __single_inheritance sizeof static static_cast __stdcall struct __super switch template this thread 1 throw true try __try/__except, __try/__finally __try_cast 2 typedef typeid typename __unaligned __unhook 3 union unsigned using declaration, using directive uuid 1 __uuidof value struct value class __value 2 virtual __virtual_inheritance void volatile __w64 __wchar_t, wchar_t  while

การประกาศตัวแปร เป็นการ……………………………………….สำหรับตัวแปรนั้นๆ มีรูปแบบ คือ datatype var_name; datatype var_name1, var_name2; เช่น int radius; float width, height; และสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรได้ radius = 5; height = 3.14;

Case sensitive language คือ ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่กับตัวพิมพ์เล็ก จะมีความหมายแตกต่างกัน int 1num; int num1: char hello; char hEllo; int check_digit; int for; double void;

Data type ชนิดจำนวนเต็ม เช่น boolean, char, int, long, short ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน (Build-in type) เป็นชนิดข้อมูลที่ถูกกำหนดไว้แล้ว สามารถนำมาใช้ได้ทันที ชนิดจำนวนเต็ม เช่น boolean, char, int, long, short ชนิดจำนวนจริง เช่น float, double, long double ชนิดที่เก็บข้อมูลเป็นเซตจำนวนเต็ม เช่น enum ชนิดสร้างใหม่ตามมาตราฐาน c++ เช่น คลาส string ชนิดอื่นๆ เช่น pointer, array, class, reference

boolean bool x = true; bool y = false; bool z1 = 10; bool z2 = -10; เก็บเฉพาะค่า…………………………………….. เท่านั้น 0 แทนค่าเท็จ นอกนั้นจำนวนเต็มใดๆ ยกเว้น 0 จะแทนค่าจริงทั้งหมด bool x = true; bool y = false; bool z1 = 10; bool z2 = -10; มักใช้กับนิพจน์เงื่อนไขตัดสิน เช่น if-else

char char c1 = ‘a’; char c2 = ‘A’; char c3 = “B”; char c4 = ‘5’; เก็บ…………………………………………………ขนาด 8 บิต ซึ่งสามารถเก็บได้ 256 ค่า char c1 = ‘a’; char c2 = ‘A’; char c3 = “B”; char c4 = ‘5’; จะใช้เลขรหัส ASCII (แอสกี) ในการเก็บข้อมูลรหัสอักขระ ถ้าต้องการเก็บเป็นสตริง (ข้อความ) ก็สามารถทำได้โดย char str1[ ] = “welcome to c++”; char str2[ ] = “A”; char str3[5]; str3 = “abcde”

integer short s; s = 10000; int m = 50000; long y = 555555L; ใช้………………………………………….สามารถเก็บได้ 3 แบบ short int int long int short s; s = 10000; int m = 50000; long y = 555555L; int oct_value = 0123; int hex_value = 0X456;

floating point float f1 = 9.8; float f2 = -133.5095F; ชนิดข้อมูลจำนวนจริง หรือจำนวนที่มีจุดทศนิยม float f1 = 9.8; float f2 = -133.5095F; double d1 = 10.5e-2; double d2 = -232.23d; long double pi = 3.141621092783L;

ฟังก์ชัน cout cout << “test for cout” int x = 100; ใช้พิมพ์ข้อมูลออกทาง standard output ในการใช้งานต้องมีการเรียกใช้ library iostream ไว้ในโปรแกรมก่อนทุกครั้ง cout << “test for cout” int x = 100; cout << “x value is ” << x; cout << ‘\n’ cout << “\n”

ฟังก์ชัน cin int x,y; cout << “please enter x :”; ใช้อ่านข้อมูลจาก keyboard ใช้ร่วมกับตัวดำเนินการ >> int x,y; cout << “please enter x :”; cin >> x; //รับข้อมูลจากผู้ใช้เก็บไว้ในตัวแปร x cout << “please enter x and y separated by spacebar”; cin >> x >> y; cout << x << " and " << y ;

sizeof ตัวดำเนินการนี้จะคืนขนาดชนิดข้อมูลที่ใช้ว่าใช้พื้นที่หน่วยความจำเก็บข้อมูลขนาดกี่ ไบต์ มีรูปแบบการใช้ดังนี้ sizeof(data_type) ใช้กับชนิดข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เช่น int, char, bool sizeof(object) ใช้กับชนิดข้อมูลที่สร้างขึ้นใหม่ เช่น คลาส

แบบฝึกหัดการใช้คำสั่ง sizeof #include <iostream> using namespace std; int main() { cout << "char = " << sizeof(char) << "bytes\n"; cout << "bool = " << sizeof(bool) << "bytes\n"; cout << "short int = " << sizeof(short) << "bytes\n"; cout << "int = " << sizeof(int) << "bytes\n"; cout << "long int = " << sizeof(long) << "bytes\n"; cout << "float = " << sizeof(float) << "bytes\n"; cout << "double = " << sizeof(double) << "bytes\n"; cout << "long double = " << sizeof(long double) << "bytes\n"; cin.get(); return 0; }

ตัวดำเนินการและนิพจน์ ตัวดำเนินการ (operator) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการกระทำกับข้อมูล เช่น +, -, *, /, %, sizeof นิพจน์ (expression) คือ การนำข้อมูลมากระทำต่อกัน ตั้งแต่หนึ่งจำนวนขึ้นไป เช่น int a, b=1,c=5; a = b+c; c = (23 * -12.379) / b + a;

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) ตัวอย่างตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ เช่น +, -, *, /, % % ตัวดำเนินการ …………………….. คือ …………………………………………. เช่น 5% 3 = 2 5 % 3.0 = ? 100 / 3 = ? 100.0 / 3.0 = ? 100 / 3.0 = ? เมื่อใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ระหว่างข้อมูลต่างชนิดกัน ผลลัพธ์จะเป็นชนิด ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่สุด เช่น int กับ long ผลลัพธ์จะเป็น long

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ กรณีที่มีหลายๆ นิพจน์ เช่น a + b * c / (d – 10) โปรแกรมจะคำนวนตามตัวดำเนินการที่มีลำดับความสำคัญสูงสุดก่อน ถ้ามีลำดับความสำคัญเท่ากัน จะทำจากซ้ายไปขวา เช่น a + b * c / d – 10 เมื่อ a = 1, b= 4, c = 3, d = 2 ผลลัพธ์จะเท่ากับ............. ถ้า (a + b) * (c / d) – 10 เมื่อ a = 1, b= 4, c = 3, d = 2 ผลลัพธ์จะเท่ากับ.............

Escape sequence อักขระพิเศษที่ถูกกันไว้ เพื่อตีความหมายเป็นอย่างอื่น จะใช้สัญลักษณ์ ‘\’ เป็น ตัวกัน Escape Sequence Represents \n New line \b Backspace \t Horizontal tab \’ Single quotation mark \a Bell (alert) \\ Backslash \” Double quotation mark \? Literal question mark

แบบฝึกหัด ลองแสดงข้อความต่อไปนี้

แบบฝึกหัด 1. จงเขียนโปรแกรมหาผลรวมของ 2 ข้อมูล(มีชนิดเป็นเลขทศนิยม) โดยรับค่าจากผู้ใช้ แล้วแสดงผลลัพธ์ออกทางหน้าจอ

แบบฝึกหัด 2. จงเขียนโปรแกรมแสดงผลลัพธ์ของสมการ f(x) = x2 + 10/x เมื่อ x เป็นค่าใดๆ (ชนิด จำนวนเต็ม) แต่ไม่ใช่ 0 กำหนดให้รับค่า x จากผู้ใช้งาน

แบบฝึกหัด 3. จงเขียนโปรแกรมแสดงการแปลงค่าสกุลเงินจากเงินบาท เป็นเงินดอลลาร์ กำหนดให้ ผู้ใช้กรอกจำนวนเงินหน่วยเป็นบาท (สามารถกรอกเป็นทศนิยมได้) และ 1 ดอลลาร์ เท่ากับ 33.25 บาท