Introduction to C Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
BC320 Introduction to Computer Programming
ครั้งที่ 8 Function.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชั่น function.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
C Programming Lecture no. 6: Function.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โปรแกรมยูทิลิตี้.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Overview of C Programming
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to C Programming BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

การทำงานของภาษาซี จัดทำโปรแกรมต้นฉบับ(Source Program) โดยบันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .c แปลงรหัสคำสั่งเป็นภาษาเครื่อง(Compile) ซึ่งจะได้ไฟล์นามสกุล . obj การเชื่อมโยงโปรแกรม(Link) เป็นการเชื่อมโยงโปรแกรมกับไลบรารี ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดไฟล์ .exe BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

กระบวนการแปลรหัสของภาษาซี เขียนคำสั่ง Compile Link Run Test.c Test.obj Test.ilk Test.exe BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

ส่วนประกอบของภาษาซี Preprocessor directives main function ส่วนหัวของโปรแกรม ส่วนฟังก์ชันหลัก BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

แจ้งให้คอมไพเลอร์อ่านไฟล์อื่นเข้ามา compile ด้วย ส่วนหัวของโปรแกรม ใช้ระบุ ไฟล์header ที่ควบคุมการทำงานของฟังก์ชันมาตรฐาน ไฟล์ header จะมีนามสกุลเป็น .h ตัวอย่าง #include<stdio.h> แจ้งให้คอมไพเลอร์อ่านไฟล์อื่นเข้ามา compile ด้วย BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

ตัวอย่างไลบรารีต่าง ๆ ในภาษาซี BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

main function main function เป็นฟังก์ชันหลักที่ทุกโปรแกรมจะต้องมี เริ่มทำงานที่จุดนี้ วิธีการเขียน int main() { return 0; } void main() { } หรือ BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

ตัวอย่างโปรแกรม #include < stdio.h > void main() { int money; float money_tax,TAX; money = 1000; TAX = 0.07; money_tax = money * TAX; printf("value of money = %d\n",money); printf("value of tax = %.2f\n",money_tax ); } BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

ตัวแปร (Variable) ตัวแปรคือ ที่เก็บข้อมูลที่โปรแกรมต้องการใช้ คุณสมบัติที่ต้องมี ชื่อ  บอกได้ว่าข้อมูลที่เราเก็บเป็นอะไร ชนิด  ขึ้นอยู่กับค่าของข้อมูลที่เป็นไปได้ ค่า  ข้อมูลที่เราจะนำไปใช้ BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

การตั้งชื่อตัวแปร ตัวอักษร, ตัวเลข, _ ตัวแรกต้องเป็นตัวอักษร _ อยู่ระหว่างตัวอักษรหรือตัวเลข ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน (Reserved word) เช่น if, case, for ชื่อตัวแปรตัวอักษรตัวเล็กตัวใหญ่ถือเป็นคนละชื่อ BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Ex ข้อใดใช้ในการตั้งชื่อไม่ได้ Hello 1234A 3. Program 4. A*B 5. 712-7000 6. A1243 7. Hot Dog 8. $XYZ 9. Oh-George 10. 4x2 11. Show_Money 12. S____B BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

ชนิดตัวแปร ตัวเลข ตัวอักษร จำนวนเต็ม ทศนิยม 1 ตัว มากกว่า 1 ตัว BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

ช่วงของข้อมูลที่เก็บได้ ชนิดของตัวแปร ประเภท ช่วงของข้อมูลที่เก็บได้ ขนาดหน่วยความจำ char -128 - 127 1 ไบต์ unsigned char 0 - 255 signed char -128 - 127 int -32,768 - 32,767 2 ไบต์ unsigned int 0 - 65,535 signed int short int unsigned short int signed short int long int -2,147,483,648 - 2,147,483,647 4 ไบต์ unsigned long int 0 - 4,294,967,295 signed long int -2,147,483,648 - 2,147,483,647 float 3.4x10-38 - 3.4x10 38 double 8 ไบต์ long double 10 ไบต์ BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

วิธีการประกาศตัวแปร เช่น int x; int a,b,c; int j = 0; float avg; ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร; รูปแบบ ถ้าไม่ใส่ค่าให้ในครั้งแรก ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็นขยะ ในหน่วยความจำ ตัวแปรใดที่ไม่ใช้ในโปรแกรม คอมไพเลอร์อาจจะแจ้งเตือน ต้องประกาศตัวแปรก่อนใช้ทุกครั้ง เช่น int x; int a,b,c; int j = 0; float avg; double sum =0; BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

การประกาศค่าคงที่ ตัวแปรที่มีค่าคงที่ตลอดทั้งโปรแกรม/เปลี่ยนแปลงไม่ได้ รูปแบบ const ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร = ค่าคงที่; เช่น const int Rate = 20 ; BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Ex ลอง ประกาศค่าคงที่ต่อไปนี้ pi เก็บค่าคงที่ในการคำนวณพื้นที่วงกลม Num เก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็มที่น้อยที่สุด Data เก็บรหัสวิชาComputer Programming BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

การกำหนดค่าให้กับตัวแปร รูปแบบ ตัวแปร = นิพจน์; เช่น a = 20; z = x * y; BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

การเปลี่ยนประเภทข้อมูล ระบุชนิดที่ต้องการไว้ข้างหน้า เช่น int y; y = (int)2.4; -> y = 2 float x; x = (float)15; BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Operators Relational Operators Logical Operators Arithmetic Operators BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

1. Arithmetic Operators ( ) ++, -- (ขวา->ซ้าย) *, / , % (Modulus) ++, -- (ขวา->ซ้าย) *, / , % (Modulus) +, - BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Ex จงหาคำตอบของผลลัพธ์ต่อไปนี้ 3 * 4 - (3 - 7) ? 5 % 2 + 14 / 3 – 6 2 1 3 4 BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

2.Relational Operators == (Equal) != (Not Equal) <= (Less Than or Equal) >= (More Than or Equal) > (More Than) < (Less Than) BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Ex กำหนดให้ a= 3, b=4,c=0 จงหาคำตอบของนิพจน์ต่อไปนี้ a-c == 5 BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

3.Logical Operators && (And) || (Or) ! (Not) BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

A B A && B A || B !(A) T F BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Ex กำหนดให้ a = 9 จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ (a>0)&&(a<5); (a>0)||(a<5); !(a>0); BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Increment and Decrement (ตัวดำเนินการเพิ่มและลด) ++ เช่น x++; ++x; -- เช่น x--; --x; x = x + 1; x = x - 1; BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Ex จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ y = ++x; x = ? y = ? x = 10; y = x++; x = ? y = ? 11 10 11 x = 10; y = x--; x = ? y = ? x = 10; y = --x; x = ? y = ? 9 10 9 BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Compound Assignment *= เช่น x = x * y; -> x *= y; BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

Expression Arithmetic Expression นิพจน์คณิตศาสตร์ ห้ามเขียนตัวแปรติดกัน ตัวแปรต่างชนิดกัน -> ผลลัพธ์มีชนิดที่ใหญ่ เช่น char กับ int -> int float กับ double -> double int กับ long int -> long int int กับ double -> double BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

int double float double double char ch; int i; float f; double d; result = (ch / i) + (f * d) – (f + i); int double float double double BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)

เตรียมกระดาษ 1 แผ่น BC322 : Computer Programming (ครั้งที่ 2)