บทที่ 5 โครงสร้างข้อมูลคิว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

จงเขียนโปรแกรมในการคำนวณหาค่า function ข้างล่างโดยอาศัยหลักการ
Arrays.
โครงสร้างข้อมูลสแตก มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List)รูปแบบหนึ่ง และมีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มและลบรายการเพียงด้านเดียว ซึ่งเป็นด้านบนสุดของสแตก(Top.
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Lists Data Structure LAUKHWAN NGAMPRASIT LAUKHWAN NGAMPRASIT.
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลลิ้งค์ลิสต์
โครงสร้างข้อมูลสแตก มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List)รูปแบบหนึ่ง และมีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มและลบรายการเพียงด้านเดียว ซึ่งเป็นด้านบนสุดของสแตก(Top.
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลลิ้งค์ลิสต์
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
บทที่ 5 Visual C#.NET กับ ฐานข้อมูล
Stack.
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
Data structure & Algorithms
ลักษณะการทำงานของ Stack
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
Arrays.
Arrays.
Atlas.ti Date 24/03/10.
คิวQueue Circular Queue.
บทที่ 2 Queue Queue.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
Sticker House .บ่งบอกตำแหน่ง House ของ Shelf และแต่ละ Zone จะมีจำนวน House ไม่เท่ากัน .แต่ละ Zone ขนาด Sticker จะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความหนาของแผ่นพื้น.
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
บทที่ 8 File Management. ประเด็นที่ต้องพิจารณา ถ้าต้องการเก็บข้อมูลจะเก็บข้อมูลไว้ที่ไหน สามารถเก็บข้อมูลตรงไปยัง media โดยไม่ต้อง จัดรูปแบบการเก็บได้หรือไม่
คิว ลักษณะการทำงานของ Queue การดำเนินการของ Queue การตรวจสอบ Queue
วาดภาพสวยด้วย Paint.
คิว (Queue) Queue ADT Queue เป็น List ชนิดหนึ่ง แต่สำหรับ queue การแทรกข้อมูลลงบน queue (Insertion) จะทำที่ปลายใดปลายหนึ่งของ Queue ในขณะที่การลบข้อมูลออกจากคิว.
การส่งกำลัง และการตรวจซ่อม กระปุกเกียร์ขับ 4 ล้อ
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
Linked List (ลิงค์ลิสต์)
การพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
บทที่ 5 Link List Link List.
Array.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
Linked List List is group of nodes that consists of data and link.
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ลิงค์ลิสต์ (Linked List)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
โครงสร้างข้อมูลแบบกองซ้อน (Stack)
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
School of Information Communication Technology,
รายการโยง (linked lists) หอยทอด 30 ข้าวผัด 30 ไก่ย่าง 50 เนื้อทอด 30
โครงสร้างข้อมูล Queues
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การเข้าทำงานของ สมาชิก ในการเพิ่มและแก้ไข ข้อมูลข่าวสาร.
รายการ (Lis t) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Website : ict.up.ac.th/yeunyong.
Queue Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 โครงสร้างข้อมูลคิว โครงสร้างข้อมูลที่มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List) เช่นกัน มีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มค่าแทรกเข้าไปในตอนท้ายของรายการเพียงด้านเดียว เรียกว่า ส่วนหลัง(Read) และการลบค่าในตอนต้นของรายการเพียงด้านเดียว เรียกว่าส่วนหน้า (Front)

รูปแบบของคิว Q2 Q3 ... Qr Q1 Front Rear

Insert (1),Insert (2),Insert (3),Remove (),Insert(4), โจทย์ Insert (1),Insert (2),Insert (3),Remove (),Insert(4), Insert (5),Remove()

เริ่มต้นโดยการคิว S ขึ้นมาเป็นคิวว่าง ไม่มีสมาชิกตัวชี้ส่วนหน้าและส่วนท้าย

นำค่า 1 เข้ามาเก็บเป็นตัวแรกโดยใช้ Insert (1) ได้คิว S=[1] ตัวชี้ Front = 1,Rear = 1 1 Front Rear

นำค่า 2 เก็บต่อโดยใช้ Insert (2) ได้คิว S=[1,2] ตัวชี้ Front = 1,Rear = 2 1 2 Front Rear

นำค่า 3 เก็บต่อโดยใช้ Insert (3) ได้คิว S=[1,2,3] ตัวชี้ Front = 1,Rear = 3 1 2 3 Front Rear

ต้องการดึงค่าออกมาโดยใช้ Remove() ได้คิว S=[2,3] ตัวชี้ Front = 2, Rear=3 2 3 Front Rear

นำค่า 4 เก็บต่อโดยใช้ Insert (4) ได้คิว S=[2,3,4] ตัวชี้ Front = 1,Rear = 4 2 3 4 Front Rear

นำค่า 5 เก็บต่อโดยใช้ Insert (5) ได้คิว S=[2,3,4,5] ตัวชี้ Front = 1,Rear = 5 2 3 4 5 Rear Front

ต้องการดึงค่าออกมาโดยใช้ Remove() ได้คิว S=[2,3,4] ตัวชี้ Front = 2, Rear=4 2 3 4 Front Rear

คิววงกลม มีลักษณะของเชิงเส้นรูปวงแหวนเป็นวงกลมที่สมาชิกตัวแรกต่อกับตัวสุดท้าย ถ้าอยากรู้ว่าถึงคิวตัวสุดท้ายแล้วยังให้ดูที่ Rearถ้า Rearอยู่หน้า Front ก็แสดงว่าถึงตัวสุดท้ายแล้ว

รูปแบบคิววงกลม 3 4 1 2

โจทย์ Insert(6),Insert(7),remove() Insert(9),Insert(4),remove()

นำค่า 6 เข้ามาเก็บเป็นตัวแรกโดยใช้ Insert (6) ได้คิว S=[6] ตัวชี้ Front = 6,Rear = 6 2 3 6 1 Front Rear

นำค่า 7 เข้ามาเก็บเป็นตัวแรกโดยใช้ Insert (7) ได้คิว S=[6,7] ตัวชี้ Front = 6,Rear = 7 2 3 6 7 1 Rear Front

ต้องการดึงค่าออกมาโดยใช้ Remove() ได้คิว S=[7] ตัวชี้ Front = 7, Rear=7 2 3 7 1 Front Rear

นำค่า 9 เข้ามาเก็บเป็นตัวแรกโดยใช้ Insert (9) ได้คิว S=[7,9] ตัวชี้ Front = 7,Rear = 9 2 3 9 Rear 7 1 Front

นำค่า 4 เข้ามาเก็บเป็นตัวแรกโดยใช้ Insert (4) ได้คิว S=[7,9,4] ตัวชี้ Front = 7,Rear = 4 3 2 4 9 Rear 7 1 Front

ต้องการดึงค่าออกมาโดยใช้ Remove() ได้คิว S=[9,4] ตัวชี้ Front = 9, Rear=4 3 2 4 9 Rear Front 1