Computer Programming 1 LAB Test 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
LAB # 1.
Advertisements

บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting)
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++
Control Statement for while do-while.
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (for).
Lecture 6: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การโปรแกรม.
1. จงหาผลลัพธ์จากโปรแกรมต่อไปนี้
Structure.
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 8 Computer Programming 1
Computer Programming 1 LAB # 6 Function.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
ลักษณะการทำงานของ Stack
การจัดเรียงข้อมูล Sorting.
LAB # 7 CASE SWITCH CONTINUE. 2 /*Program : base_num.cpp Process : display change base number of decimal,octal,hexadecimal*/ #include void main() { cout
LAB # 4.
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
Week 15 C Programming.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
Lab 5: คำสั่ง switch - case
Lab 8: คำสั่ง Do-While อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน.
คำสั่งวนซ้ำ (Looping)
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Lecture no. 6 Structure & Union
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 9 Structure.
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
หน่วยที่ 17 แอเรย์ของสตรัคเจอร์. แอเรย์ของข้อมูลสตรัคเจอร์ student_info student[30]; Student[0]Student[0].Name Student[0].Midterm Student[0].Assignment.
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 8 อาร์กิวเมนต์ของ main
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
การทดลองที่ 9 Loops (วงวน) การทดลองที่ 9 Loops (วงวน)
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
การสร้างฟังก์ชั่นเพื่อพัฒนาโปรแกรม Interactive C
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
C language W.lilakiatsakun.
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
Computer Programming for Engineers
Recursion การเรียกซ้ำ
บทที่ 2 การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การทำซ้ำ Pisit Nakjai.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
Introduction to Flowchart
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 9: การทำซ้ำ (for).
Linked List (2) Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao.
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ
อาร์เรย์ (Array) อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
ภาษา C เบื้องต้น.
Queue [2] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
Lecture 7: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
Chapter 7: File แฟ้มข้อมูล Source of slides
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Programming 1 LAB Test 3 10. จากตัวอย่างเป็นโปรแกรม สำหรับรับพิกัด x ,y ของจุดจุดหนึ่ง แล้วแสดงพิกัดของจุดจุดนั้น จงทดลองป้อนค่าให้โปรแกรมแล้วดูผลลัพธ์ที่ได้ #include <iostream.h> typedef struct { int x; int y; } point; void main() { point pt1; cout << "\nEnter data\n"; cout << " point x : "; cin >> pt1.x; cout << " point y : "; cin >> pt1.y; cout << "\n Your point (x,y) = ("<<pt1.x<<", " <<pt1.y<<")"; } Lab10.cpp

10. จากตัวอย่างเป็นโปรแกรม สำหรับรับพิกัด x ,y ของจุดจุดหนึ่ง แล้วแสดงพิกัดของจุดจุดนั้น จงทดลองป้อนค่าให้โปรแกรมแล้วดูผลลัพธ์ที่ได้ #include <stdio.h> typedef struct { int x; int y; } point; void main() { point pt1; printf("\nEnter data\n"); printf("\tpoint x : "); scanf("%d", &pt1.x); printf("\tpoint y : "); scanf("%d", &pt1.y); printf("\tYour point (x,y) = (%d,%d) ",pt1.x,pt1.y); } Lab10.cpp

11. จากตัวอย่างเป็นโปรแกรม สำหรับรับวันเดือนปี แล้วแสดงวันเดือนปีนั้น จงเติมคำสั่งที่ถูกต้องในช่องว่าง และเมื่อโปรแกรมทำงานป้อนค่าให้โปรแกรมแล้วดูผลลัพธ์ที่ได้ #include <iostream.h> typedef struct { int day; int month; int year; } Date; void main() { Date d1; cout <<"\nEnter date\n"; cout <<"\tDay : "; cin >> ; cout << "\tMonth : "; cout << "\tYear : "; cout <<"\tYour Date = " <<d1.day <<d1.month <<d1.year; } Lab11.cpp คำสั่งเพื่อป้อนข้อมูล วัน คำสั่งเพื่อป้อนข้อมูล เดือน คำสั่งเพื่อป้อนข้อมูล ปี

11. จากตัวอย่างเป็นโปรแกรม สำหรับรับวันเดือนปี แล้วแสดงวันเดือนปีนั้น จงเติมคำสั่งที่ถูกต้องในช่องว่าง และเมื่อโปรแกรมทำงานป้อนค่าให้โปรแกรมแล้วดูผลลัพธ์ที่ได้ #include <stdio.h> typedef struct { int day; int month; int year; } Date; void main() { Date d1; printf("\nEnter date\n"); printf("\tDay : "); scanf("%d", ); printf("\tMonth : "); printf("\tYear : "); printf("\tYour Date = %d/%d/%d",d1.day,d1.month,d1.year); } Lab11.cpp คำสั่งเพื่อป้อนข้อมูล วัน คำสั่งเพื่อป้อนข้อมูล เดือน คำสั่งเพื่อป้อนข้อมูล ปี

12.จากข้อ 1 จงเพิ่มเติม code เพื่อให้สามารถรับจุดสองจุดซึ่งเป็นจุดของสี่เหลี่ยมแล้วทำการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่เกิดจากสองจุดนั้น (x1,y1) (x2,y2) Lab12.cpp Hint: สร้าง struct ของจุด 2 จุด ความสูงของสี่เหลี่ยม = (y1 – y2) ความกว้างของสี่เหลี่ยม = (x2 – x1)

13.จงเขียนโปรแกรมเพื่อคํานวณพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยเก็บข้อมูลของสี่เหลี่ยมคือ ความกว้าง ความสูง และพื้นที่เป็นลักษณะโครงสร้าง rectangle Enter width: 30 Enter height: 5 Area = 150 width height area Lab13.cpp

14. เขียนโปรแกรมเพื่อทําหน้าที่ในการตัดเกรดของกระบวนวิชาหนึ่ง โดยรับข้อมูลรหัสนักศึกษา และคะแนนสอบของนักศึกษาโดยเก็บไว้ในโครงสร้าง โปรแกรมจะทําหน้าที่ตัดเกรดและแสดงผลการตัดเกรดให้กับนักศึกษาโดยคิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน มีเกณฑ์การตัดเกรดดังนี้ คะแนน เกรด ตั้งแต่ 85 ขึ้นไป A 75 ถึง 84 B 60 ถึง 75 C 50 ถึง 59 D ตํ่ากว่า 50 F student id score grade Lab14.cpp

15. จงเขียนโปรแกรมต่อไปนี้ ให้ประกาศ struct สำหรับเก็บข้อมูลสี่เหลี่ยม ที่ประกอบด้วยข้อมูล ความกว้าง ความยาว และ พื้นที่สี่เหลี่ยมที่มีชนิดข้อมูลเป็นจำนวนเต็ม struct สำหรับเก็บข้อมูลสามเหลี่ยม ที่ประกอบด้วยข้อมูล ความสูง และความยาวฐาน และพื้นที่สามเหลี่ยมที่มีชนิดข้อมูลเป็นจำนวนเต็ม ให้เขียนโปรแกรม เพื่อรับข้อมูล ความกว้าง ความยาว แล้วคำนวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยม รับข้อมูล ความสูง ความยาวฐาน แล้วคำนวณพื้นที่ของสามเหลี่ยม โปรแกรมสามารถตรวจสอบได้ว่า พื้นที่สี่เหลี่ยม บวก พื้นที่สามเหลี่ยม มากกว่า 50 และ น้อยกว่า 150 หรือไม่ Hint: ข้อนี้ทดสอบการใช้งาน typedef/structure และ if Lab15.cpp

จากข้อ 4 จงเขียนโปรแกรมเพื่อโดยมีเมนูให้เลือก 16. จากตัวอย่างเป็นโปรแกรม สำหรับรับข้อมูลนิสิต 5 คนเป็น array of structure จงเขียนโปรแกรมต่อเพื่อทำการแสดงข้อมูลต่างๆของนิสิตทั้ง 5 คน #include <iostream.h> typedef struct { char name[30]; int height; } student; void main() { student stu[5]; int i; for(i=0;i<=4;i++){ cout <<"Enter Name::"; cin >> stu[i].name; cout << "Enter Height::"; cin >> stu[i].height; } Lab16.cpp จากข้อ 4 จงเขียนโปรแกรมเพื่อโดยมีเมนูให้เลือก เมื่อเลือก 1 ให้แสดงข้อมูลนิสิตที่มีความสูงมากที่สุดในรายการ เมื่อเลือก 2 ให้แสดงข้อมูลนิสิตที่มีความสูงน้อยที่สุดในรายการ