ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
Functions Standard Library Functions User-defined Functions.
ตัวแปรชุดของอักขระ String
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
สตริง (String).
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 10 สตริง.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง. วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
Operator of String Data Type
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8 ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3

สตริงในภาษาซี สตริง (String) เป็นลักษณะของข้อมูลที่มาจากกลุ่มของตัวอักษร หรือเป็น Array of Character นำมาใช้ในการเก็บข้อมูลประเภท ชื่อ,นามสกุล, ที่อยู่ หรือเบอร์โทรศัพท์ ในภาษาซีไม่มีโครงสร้างของตัวแปรชนิดนี้มาให้เป็นมาตรฐาน ซึ่งเราจะต้องประยุกต์สร้างโครงสร้างของตัวแปรเอง

การสร้างตัวแปรแบบสตริง สตริงก็คือกลุ่มของตัวอักขระ เพราะฉะนั้นถ้าเรานำเอารูปแบบของแอเรย์ มาผนวกกับตัวอักษร เราก็จะได้กลุ่มของตัวอักษร เรียกว่า Array of Character นั่นเอง ดังตัวอย่าง char Road[100]; char Amphor[50]; char *string_pointer;

การกำหนดค่า ให้กับตัวแปรแบบสตริง char FirstName[15] = {'M', 'r', '.', ' ', 'S', 'o', 'm', 'c', 'h', 'a', 'i', '\0'}; char Location[] = { 'R', 'a', 'j', 'a', 'm', 'a', 'n', 'g', 'a', 'l', 'a', ' ', 'U', 'n', 'i', 'v', 'e', 's', 'i', 't', 'y', ' ', 'o', 'f', ' ', 'T', 'e', 'c', 'h', 'n', 'o', 'l', 'o', 'g', 'y', '\0' } ; char PhoneNo[] = {'0', '2', '8', '1', '8', '8', '2', '1', '6', '-', '9', '\0' } ; char Address[] = "RMUTT Klong6 Pathumthani" ;

การการรับ และแสดงผลข้อมูล char Road[100]; printf("Please enter the road name : "); gets(Road); printf("String data is %s" , Road ); รับข้อมูล แสดงข้อมูล

ตัวอย่าง โปรแกรมเก็บข้อมูลสตริงเข้าไปไว้ในตัวแปร และแสดงผลลัพธ์ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main (void) { char str[80]; printf("Enter a string : "); gets(str); printf("You enter is : %s",str); getch(); } Enter a string : Apple Mango Orange You enter is : Apple Mango Orange

ตัวอย่าง การรับข้อมูลที่เป็นสตริง และพิมพ์ข้อมูลในสตริงออกมาทีละเซลล์ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main (void) { char str[80]; int i; printf("Enter a string (less than 80 chars) : "); gets(str); for (i=0;str[i];i++) printf("str[%d] = %c\n" , i, str[i]); getch(); } Enter a string (less than 80 chars) : I'm free. str[0] = I str[1] = ' str[2] = m str[3] = str[4] = f str[5] = r str[6] = e str[7] = e str[8] = .

การส่งผ่านค่าสตริงระหว่างฟังก์ชัน การส่งผ่านค่าสตริงในฝั่งของฟังก์ชันที่ถูกเรียกใช้งาน พารามิเตอร์ของฟังก์ชัน จะไม่ระบุขนาดของแอเรย์ เนื่องจากไม่สามารถทราบได้แน่นอนว่ามีขนาดเท่าใด ดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง การส่งผ่านค่าสตริงระหว่างฟังก์ชัน #include <stdio.h> #include <conio.h> void function1(char [] ); void main (void) { char string[20]; printf(“What is your name => "); gets(string); function1(string); getch(); } void function1(char name[]) { printf("Hello there %s!" , name ); } What is your name => Somchai Jingjing Hello there Somchai Jingjing!

ตัวอย่างนี้ค่าของสตริงถูกระบุในฟังก์ชัน #include <stdio.h> void function2(char [] ); void main (void) { char string[20]; function2(string); printf("Hello there %s!\n" , string); getch(); } void function2(char name[]) { printf("Enter your first name => "); gets(name); Enter your first name => Rooney Hello there Rooney!

ฟังก์ชันที่ใช้งานกับข้อมูลแบบสตริง ฟังก์ชันที่ทำงานกับข้อมูลแบบสตริงมีอยู่มากมายเช่น การคัดลอก การเปรียบเทียบ การทำให้เป็นตัวอักษรเล็ก หรือใหญ่ ต่างๆ ซึ่งอยู่ใน “string.h” ก่อนนำฟังก์ชันมาใช้งาน ต้องมีการกำหนดไว้ใน include directive ก่อนเสมอคือ #include <string.h> void main() { Statement … }

ตัวอย่าง ฟังก์ชันที่ใช้งานกับข้อมูลแบบสตริง char *strcpy(char *str1, const char *str2) สำเนาสตริงจาก str2 ไปยัง str1 char *strcat(char *str1, const char *str2) สำเนาสตริงจาก str2 ไปต่อท้ายสตริง str1 char *strchr(const char * str,int ch) ค้นหาตำแหน่งตัวอักษรที่อยู่ในสตริง str และได้ข้อมูลตั้งแต่ตำแหน่งที่พบไปทั้งหมด int strcmp(const char *str1, const char *str2) นำค่าของ str1 และ str2 มาเปรียบเทียบกัน ถ้า str1 < str2 จะคืนค่า < 0 ถ้า str1 = str2 จะคืนค่า = 0 ถ้า str1 > str2 จะคืนค่า > 0 char *strlwr(char *str) แปลงอักขระในสตริงทุกตัว ให้เป็นตัวเล็ก char *strupr(char *str) แปลงอักขระในสตริงทุกตัว ให้เป็นตัวใหญ่ char *strstr(cont char *str1, const char *str2) ค้นหาตำแหน่งของสตริง str2 ใน str1

ตัวอย่าง การใช้งานฟังก์ชัน STRSTR : Help me!! STRCHR : Help me!! STRCPY : Help STRCMP : 0 STRCAT : Superman!! Help me!!Help STRUPR : SUPERMAN!! HELP ME!!HELP STRLWR : superman!! help me!!help #include <stdio.h> #include <string.h> void main (void) { char str1[30]="Superman!! Help me!!"; char str2[30]="Help"; char str3[30]=""; printf("STRSTR : %s\n" , strstr(str1,str2)); printf("STRCHR : %s\n" , strchr(str1,'H')); printf("STRCPY : %s\n" , strcpy(str3,str2)); printf("STRCMP : %d\n" , strcmp(str3,str2)); printf("STRCAT : %s\n" , strcat(str1,str2)); printf("STRUPR : %s\n" , strupr(str1)); printf("STRLWR : %s\n" , strlwr(str1)); getch(); }

The End.