เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การคลังและนโยบาย การคลัง
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
การวางแผนการผลิต และการบริการ
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552

ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุ พิจารณาการตัดสินใจของแรงงาน ในเรื่อง อายุที่จะออกจากงานประจำ หลังเกษียณ สมมติให้มีรายได้จากบำนาญเพียงอย่างเดียว อายุเกษียณขึ้นอยู่กับ อัตราค่าจ้าง และ จำนวนเงินบำนาญ อัตราค่าจ้างเพิ่ม  substitution effect เงินบำนาญเพิ่ม  substitution and income effects

ตัวกำหนดขนาดของประชากร อุปทานแรงงานรวมขึ้นอยู่กับ ขนาดของประชากร การตัดสินใจมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน จำนวนชั่วโมงทำงาน การตัดสินใจของครัวเรือนเกี่ยวกับจำนวนบุตร  อุปทานแรงงานระยะยาว มอลธัส (คศ. 1798): รายได้ และ การเจริญพันธุ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวก รายได้เพิ่ม  แต่งงานเร็วขึ้น มีบุตรมากขึ้น ประชากรเพิ่มขึ้นเป็น อนุกรมเรขาคณิต ทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มช้ากว่า อนุกรมเลขคณิต

การตัดสินใจเจริญพันธุ์ของครัวเรือน ความต้องการมีบุตร การตัดสินใจเจริญพันธุ์ของครัวเรือน ความต้องการมีบุตร แต่ รายได้ต่อหัวที่เพิ่มขึ้น  อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลง การตัดสินใจเจริญพันธุ์ไม่เพียงขึ้นอยู่กับ รายได้ เท่านั้น แต่ ขึ้นอยู่กับ ราคา ด้วย ครัวเรือนพิจารณา (ภายใต้ข้อจำกัดงบประมาณ) จำนวนบุตร ปริมาณสินค้าบริการ ความต้องการมีบุตร (เป็นสินค้า commodity อย่างหนึ่ง) ค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนทางตรง – เสื้อผ้า อาหาร การศึกษา ค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนทางอ้อม – รายได้ที่พ่อแม่ต้องเสียโอกาสไป

อิทธิพลของรายได้และราคาต่อการตัดสินใจเจริญพันธุ์ บุตร จัดว่าเป็น สินค้าปกติ (normal good) Income effect: รวยขึ้น จะ มีบุตรมากขึ้น (มอลธัส) Substitution effect: ราคาสูงขึ้น คนจะหันไปซื้อสินค้าอื่น เหตุใด ครัวเรือนชนบทจึงมีบุตรมากกว่าครัวเรือนในเมือง การเจริญพันธุ์ และ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ จำนวนบุตร และ อัตราค่าจ้างของมารดา นโยบายรัฐ และ การตัดสินใจมีบุตร นโยบาย “ลูกคนเดียว” ของ ประเทศจีน นโยบายภาษี และ ให้เงินอุดหนุนรายได้ ของประเทศในยุโรป