ความเค้นสัมผัส (contact stress)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Strength of Materials I EGCE201 กำลังวัสดุ 1
Advertisements

การเคลื่อนที่.
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
การตกกระแทกและการเสียหายเชิงกล
หัวข้อบรรยาย วก341 สรีรวิทยาของพืชและสัตว์ (ต่อ)
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเขียนผังงาน.
หินแปร (Metamorphic rocks)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
แนวทางในการเลือกใช้เครื่องจักรบรรจุภัณฑ์ ในอตุสาหกรรมอาหาร
การเขียนรายงานการทดลอง
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
วัสดุในการก่อสร้าง: ส่วนที่ 2/2
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
ว ความหนืด (Viscosity)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
Lab 14: Unconfined Compression Test
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
Menu Analyze > Correlate
Minitab for Product Quality
ข้อ ๔ อย่าด่วนเชื่อ ตามตำราหรืออ้างในคัมภีร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
Touch Screen.
การเสนอโครงการวิจัย.
การเขียนรายงานการวิจัย
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
สวัสดี...ครับ.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
งานเครื่องล่างรถยนต์
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
Module 6 ศัพท์และนิยามที่เกี่ยวข้องกับความเสียหาย
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Module 1 บทนำ วัตถุประสงค์
ทรงกลม.
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเค้นสัมผัส (contact stress) ในการทดสอบเชิงกล วิธีการทดสอบที่ง่ายที่สุดคือการกดอัด หากตัวอย่างที่เตรียมมีรูปทรงที่เป็นไปตามทฤษฏี เช่น ทรงกลม ทรงกระบอก หรือ เป็นแผ่น การทดสอบเชิงกลนั้นก็จะง่าย แต่ในความเป็นจริงแล้วรูปทรงต่าง ๆ ของวัสดุเกษตรแตกต่างกันออกไป เช่น เมล็ดพันธุ์ ไข่ ผลไม้ ผัก เป็นต้น

ทฤษฎีความเค้นสัมผัสของเฮริทซ์ (Hertz’s contact theory) ตถุที่สัมผัสกันเป็นเนื้อเดียวกันทั้งคู่ จะเห็นได้ชัดเจนว่าข้อจำกัดนี้ไม่ได้มีจริงในธรรมชาติของวัสดุชีวภาพเหมือนกับวัสดุทางวิศวกรรมอื่น ๆ ภาระที่ใช้ทดสอบเป็นแบบสถิต วัสดุมีพฤติกรรมตามกฎของ Hooke ไม่บ่อยครั้งนักที่กฎนี้ใช้ได้ นอกจากว่าการทดสอบนั้นใช้ภาระในระดับที่ต่ำมาก ๆ

ความเค้นสัมผัสหายไปในด้านตรงกันข้ามของการทดสอบ (เป็นวัตถุทดสอบแบบกึ่งอนันต์ semi-infinite body) รัศมีความโค้งของของแข็งที่สัมผัสกันนั้นใหญ่กว่าของรัศมีของพื้นผิวสัมผัส ตัวอย่างเช่น เมื่อความดันของตุ้มเหล็กกดลงบนพื้นราบเรียบแข็ง ซึ่งอัตราส่วนของรัศมีของหน้าสัมผัส : รัศมีของทรงกลม = 10:1 ถือว่ายอมรับได้ F F ความเค้นสัมผัสของ semi-infinite body. รัศมีของ plunger test ตามทฤษฎีของ Hertz

วัตถุสัมผัส (contact body) เมื่อมีทรงกลมตามสมมติฐานของ Hertz ข้างต้น 2 ลูกสัมผัสกัน ระยะเบี่ยงเฉพาะจุด (deflection: )ระหว่างวัตถุสัมผัสเนื่องจากแรง F หาได้จากสมการ Ki = Ri = รัศมีทรงกลมลูกที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ;  = Poisson’s ratio และ Ei = modulus of elasticity

F + R1 R2  ในกรณีที่ทรงกลม 1 เป็นพื้นผิวแข็งมาก ๆ (ดังรูปที่ 5.4: compression test)  ค่า R1   และ E1>>E2 เมื่อแทนค่าดังกล่าวในสมการ 5.1 จะได้สมการ F + R1 

ค่า R2  และ ค่า E1>>E2 เมื่อแทนค่าดังกล่าวในสมการ ในกรณีที่ใช้หัวกดแข็งมน กดลงบนผลไม้พื้นผิวเรียบ (ดังรูปที่ 5.5: plunger test) จะได้ว่า ค่า R2  และ ค่า E1>>E2 เมื่อแทนค่าดังกล่าวในสมการ F R1, E1 R2, E2 หากพิจารณาค่าให้ง่ายขึ้น เราสามารถใช้การเปลี่ยนรูป D แทนค่าระยะเบี่ยงเฉพาะที่  ได้ ดัง สมการ

การกระจายความดันในการทดสอบแบบกด ในการประเมินสมบัติเชิงกลของอาหาร เช่น ผักและผลไม้ ผู้ทดสอบมักจะใช้การทดสอบเพื่อดูพฤติกรรมการใส่ภาระและการเปลี่ยนรูป (load-deformation behavior) ซึ่งที่นิยมทดสอบจะเป็นภาระกดแบบ plate และแบบ die สมการที่ใช้อธิบายการกระจายของความดัน (pressure distribution) ของตัวอย่างได้มาจากสมการของ Hertz และ สมการของ Boussinesq ดังนี้

มาตรฐานการทดสอบอาหาร ASAE Standard S 368-1 มาตรฐาน ASAE Standard S 368-1 ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทดสอบการกดอัดของอาหารที่มีรูปร่างโค้งมน การทดสอบนี้จะใช้ค่าแรงและการเปลี่ยนรูปที่สอดคล้องกับค่าความเครียดขนาดเล็ก (small strain testing) ตามมาตรฐานนี้ ค่าโมดูลัสของการเปลี่ยนรูป (modulus of deformation) สามารถหาได้จากสมการที่

กราฟ แรง-การเปลี่ยนรูปของวัตถุทดสอบที่มีค่าและไม่มีค่าจุดคลากชีวภาพ PI = จุดผกผัน (point of inflection) และ DpI=การเปลี่ยนรูป ณ จุดผกผัน

การคำนวณค่าโมดูลัสของความยืดหยุ่นจากข้อมูลแรงและการเปลี่ยนรูป: E= โมดูลัสของความยืดหยุ่น, F = แรง , D = การเปลี่ยนรูป ณ จุดสัมผัสและจุดที่รองรับสัมผัส,  = อัตราส่วนปัวซอง, R1 , , R2 และ = รัศมีความโค้งของวัตถุโค้งมน ณ จุดสัมผัส, d = เส้นผ่านศูนย์กลางของหัวกดทรงกลม