ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
Advertisements

การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
Review of Ordinary Differential Equations
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 15.
พิจารณาโครงสร้างของฟังก์ชันที่นิยามโดยปริยายดังนี้
การหาปริพันธ์ (Integration)
Quadratic Functions and Models
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
(Applications of Derivatives)
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
สมบัติของความสัมพันธ์
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
สวัสดี...ครับ.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วงรี ( Ellipse).
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
เฉลยแบบฝึกหัด 3.3 วิธีทำ พิจารณาเครื่องหมายของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)

เราได้ทราบแล้วว่า ถ้า f : D เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซต D แต่ละ x0 ที่เป็นจุดลิมิตของ D ทำให้ f(x) = f(x0) หรือกล่าวในรูปแบบ  และ  ได้ดังนี้ สำหรับ  > 0 จะมี  > 0 ซึ่ง | x – x0 | <  , xD ที่ทำให้ | f(x) – f(x0) | <  ซึ่งโดยทั่วไป  จะขึ้นอยู่กับ  และ x0

พิจารณา f(x) = 2x + 1, x เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ | f(x) – f(x0) | = 2 | x – x0 | ให้  > 0 เลือก  = สำหรับทุกค่าของ x0 สอดคล้องกับนิยามความต่อเนื่องเสมอ แต่เมื่อพิจารณา g(x) = , xD , D = { x | x > 0 } g(x) – g(x0) = – = เลือก  = min { , } ..........(1)

ถ้า | x – x0 | <  จะได้ | x – x0 | < และ < ดังนั้นถ้า | x – x0 | < ทำให้ | g(x) – g(x0) | =  ( )| x – x0 |

เป็นผลให้ ถ้า | x – x0 | <  ทำให้ | g(x) – g(x0) | < ( )( ) =  ใน (1) การเลือกค่า  เป็นค่าที่ทำให้ | g(x) – g(x0) | <  เมื่อ | x – x0 | <  และ x, x0 D จะเห็นว่า  ที่เลือกนั้น ขึ้นอยู่กับ x0 ซึ่งไม่สามารถทำให้  ขึ้นอยู่กับเฉพาะ  สำหรับทุก x0D

{ 2  { 2 2 1 g(x) = , x > 0

รูป แสดงกราฟ g(x) = ที่เมื่อกำหนด  สำหรับฟังก์ชัน g 2 กรณี เมื่อ x0 = 2 , g(2) = และ x0 = , g( ) = 2 ค่า  ที่ใหญ่สามารถเลือกได้ต่างกัน และยิ่ง x0 เข้าใกล้ 0 ค่า  จะเล็กมากๆเข้าใกล้ 0 ด้วย

บทนิยาม 4.6.1 ฟังก์ชัน f : DR เป็น ฟังก์ชันต่อเนื่องแบบเอกรูป บน E  D ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกๆ  > 0 จะมี  > 0 ซึ่งถ้า x, yE และ | x – y | <  แล้ว | f(x) – f(y) | <  ทฤษฎีบท 4.6.2 Uniform Continuity Theorem ให้ f : [ a, b ] เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [ a, b ] แล้ว f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องแบบเอกรูปบน [ a, b]