คนไทยรู้จักนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์มาเนิ่นนานหลายชั่วอายุคน สืบทอดกันมาเป็นภูมิปัญญาโบราณที่ทรงคุณค่า ต่อมามีการศึกษาวิจัยสมุนไพรในทางลึก ส่งผลให้เกิดการนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
โครงงาน เรื่อง น้ำหมักมะเฟือง สูตร 1 : 3 : 5.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
~ ชาเขียว ~.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การบริหารยาทางฝอยละออง
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
หมากเขียว MacAthur Palm
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
Next.
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วย.
ดอกไม้ รางวัลที่ 1.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ดอกไม้ฤดูหนาว.
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้าน โดย สำนักงานเกษตรอำเภอสุขสำราญ
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คนไทยรู้จักนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์มาเนิ่นนานหลายชั่วอายุคน สืบทอดกันมาเป็นภูมิปัญญาโบราณที่ทรงคุณค่า ต่อมามีการศึกษาวิจัยสมุนไพรในทางลึก ส่งผลให้เกิดการนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ความสำคัญของสมุนไพรมิใช่เพียงมีค่าต่อการส่งเสริมสุขภาพเท่านั้น หากแต่ยังมีประโยชน์ทางเกษตรกรรมอย่างมาก สามารถใช้ป้องกันและกำจัดโรค แมลง ศัตรูพืช ได้ดีไม่แพ้สารเคมี และยังมีข้อดีมากกว่าทั้ง ประหยัด และปลอดภัย ไม่มีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ฉะนั้นการใช้สมุนไพรในการเกษตร น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในปัจจุบันและอนาคต พวกเราที่เคยได้ยินสรรพคุณของยี่โถที่สามารถไล่แมลงได้ จึงนำมาทดลองเพื่อพิสูจน์ตามข้อสมมุติฐาน

ตัดกิ่งยี่โถมาจากต้นจำนวนหนึ่ง แล้วตัดใบออกให้หมด เอาแต่ตัวของกิ่งยี่โถ

นำกิ่งยี่โถไปตากให้แห้ง (ห้ามนำไปอบ หรือเข้าไมโครเวฟ จะทำให้กลิ่นของยี่โถจาง)

เมื่อกิ่งยี่โถแห้งดีแล้ว ก็นำกิ่งมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก แล้วนำไปบดหรือโคลกให้ละเอียด

หลังจากที่ได้ยี่โถบดแล้วก็นำมาใส่ห่อ หรือถุงชาที่สามารถให้กลิ่นระเหยออกมาได้

นำไปแขวนไว้ในที่ที่มีแมลงสาบอยู่ โดยแขวนไว้อย่าให้เปียกน้ำ

หลังจากที่นำถุงยี่โถบดไปแขวนไว้ในที่ที่มีแมลงสาบมาก เช่น ในท่อน้ำ ข้างใต้ที่ล้างจาน ที่ต่างๆในห้องครัว หรือส่วนใดก็ตาม ผลออกมาว่า แมลงสาบจะไม่เข้าใกล้เลย เพราะได้กลิ่นของยี่โถนี้

ทั้งต้นมีสาร คาร์ดิแอคกลัยโคไซด์ ชื่อ nerin, oleandrin, folinerin ซึ่งจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ง่วงนอน ชีพจรเต้นช้า ม่านตาขยาย ท้องเสีย ถ่ายเป็นเลือด ชัก และอาจตายได้ สามารถป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ด้วง ด้วงปีกแข็ง มดต่างๆ แมลงกินใบ หนอนกินใบกินยอดพืชหลายชนิด การนำไปใช้ เปลือกและเมล็ดยี่โถจะมีสาร glycocode neriodorin ซึ่งมีฤทธิ์ ในการกำจัดแมลง

วิธีที่ 1. นำดอกยี่โถและใบยี่โถมาบดให้ละเอียด 1 กก. ต่อน้ำ 0 วิธีที่ 1. นำดอกยี่โถและใบยี่โถมาบดให้ละเอียด 1 กก. ต่อน้ำ 0.5 ปี๊บ จากนั้นแช่ทิ้งไว้ 2 วัน กรองเอาแต่น้ำไปฉีดพ่นฆ่าแมลง และป้องกันหนอนหลายชนิด วิธีที่ 2. นำใบและเปลือกไม้ยี่โถ ไปแช่น้ำอย่างน้อย 30 นาที แล้วนำไปฉีดพ่นมด แมลง ตามต้นผลไม้ วิธีที่ 3. นำใบหั่นฝอย 40 กรัม คลุกเมล็ดถั่วเหลือง 1 กก. สามารถเก็บเมล็ดถั่วเหลืองได้นาน 6 เดือน โดยไม่มีศัตรูพืชรบกวน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nerium indicum Mill ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nerium indicum Mill. ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อท้องถิ่น : ยี่โถ ยี่โถฝรั่ง (กลาง) ลักษณะ : เป็นพืชที่นำเข้ามาจากต่างประเทศปลูกเป็นไม้ดอกประดับ เป็นไม้พุ่มแตกเป็นกอ สูงไม่เกิน 4 เมตร ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยวรูปขอบขนานแคบๆติดตรงข้ามหรือเป็นวงตามกิ่ง ดอกมีทั้งสีขาวชมพูเหลืองอ่อนและสีแดงเข้ม รูปกรวย ออกรวมกันเป็นช่อกระจุกตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผลเป็นฝักแข็งรูปทรงกระบอก ส่วนที่เป็นพิษ ใบ ถ้าดม ทำให้คลื่นไส้อาเจียน วิงเวียน หน้ามืด หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ ถ้ากินเข้าไปจะถ่ายเป็นเลือด และหัวใจหยุดเต้น เมล็ดเปลือกและรากมีฤทธิ์กดการหายใจ

จำลอง เพ็งคล้าย ราชบัณฑิตในสาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์, ราชบัณฑิตสถาน กทม จำลอง เพ็งคล้าย ราชบัณฑิตในสาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์, ราชบัณฑิตสถาน กทม. ๑๐๒๐๐ http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=87 ( แหล่งข้อมูล: ต. ชาตรี. 2546. เคล็ดลับภูมิปัญญาไทย ชุด สมุนไพรเพื่อการเกษตร ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช. เคพีเอ็ม มีเดียสยาม, นนทบุรี. ) http://clinictech.kps.ku.ac.th/wisdom.html