โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เหตุผลวิบัติ E - L e a r n i n g เหตุผลวิบัติ ( fallacies )
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
Wangg991.wordpress.com Stand SW 100 Click when ready  Reasoning.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
วิธีการแสวงหาความรู้
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวางแผนและการดำเนินงาน
Application of Graph Theory
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
การวิเคราะห์เนื้อหา.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
เรขาคณิตสำหรับครูคณิตศาสตร์ The Geometry for Teacher
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนรายงานผลการวิจัย
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
วิธีสอนแบบอุปนัย.
การให้เหตุผล.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
Click when ready Whiteboardmaths.com © All rights reserved Stand SW 100 Reasoning การให้ เหตุผล.
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra

ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ 1. โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ 2. กระบวนการให้เหตุผล

โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (ระบบ) โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (ระบบ) คำอนิยาม (Undefined term) คำนิยาม (Defined term) สัจพจน์ (Axiom, Postulate) ทฤษฎีบท (Theorem)

คำอนิยาม คำซึ่งเป็นสามัญขั้นพื้นฐานที่เราไม่สามารถให้คำจำกัดความหรือหาคำอื่นมาอธิบายความหมายได้ ตัวอย่างเช่น จุด เส้นตรง ระนาบ เซต สมาชิก เป็นสมาชิก

คำนิยาม คำนิยามที่ใช้คำอนิยามล้วน ๆ มาช่วยในการอธิบายความหมาย “ รูปสามเหลี่ยม ” คือ รูปที่ประกอบด้วยจุด 3 จุด และเส้นตรง 3 เส้น และแต่ละเส้นมีจุดที่ปลาย 2 จุด และทั้ง 3 จุด ไม่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน

คำนิยาม (ต่อ) คำนิยามที่ใช้คำนิยามที่มีมาก่อนแล้วมาช่วยในการอธิบายความหมาย “ รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ” คือ รูปสามเหลี่ยมที่มีด้าน 2 ด้านยาวเท่ากัน

หลักเกณฑ์ในการสร้างบทนิยาม 1. บทนิยามที่ดีต้องระบุสมบัติที่เด่นชัดลงไปให้เห็น เพื่อที่จะทำให้เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน 2. บทนิยามที่ดีต้องสั้น กะทัดรัด และประหยัดคำ 3. บทนิยามของคำคำหนึ่งจะต้องมีเพียงแบบเดียวเท่านั้น

หลักเกณฑ์ในการสร้างบทนิยาม 4. บทนิยามที่ดีจะต้องย้อนกลับได้ 5. บทนิยามที่ดีต้องประกอบด้วยคำอนิยามหรือคำนิยามที่มีมา ก่อนแล้ว

หลักเกณฑ์ในการสร้างบทนิยาม 6. บทนิยามที่ดีจะต้องไม่มีข้อโต้แย้ง 7. บทนิยามที่ดีเมื่อกำหนดขึ้นมาในระบบหนึ่งแล้วจะต้องบอกได้ว่ามีอะไรเป็นหรือไม่เป็นตามบทนิยามนั้น

สัจพจน์ เป็นข้อความที่ตกลงหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ สัจพจน์แยกได้เป็น 3 แบบ คือ (1) สมมติฐาน / ข้อสมมติ (2) สิ่งที่เห็นจริงแล้ว (3) ข้อตกลงหรือกติกา

ทฤษฎีบท ข้อความที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นจริงโดยอาศัยอนิยาม นิยาม สัจพจน์ และทฤษฎีบทที่มีมาก่อน

กระบวนการให้เหตุผล กระบวนการซึ่งนำเอาข้อความหรือปรากฏการณ์ต่างๆที่เป็น เหตุ (ข้อกำหนด) (Hypothesis) อาจจะหลายอันมาวิเคราะห์และแจกแจงแสดงความสัมพันธ์หรือความต่อเนื่องเพื่อทำให้เกิดข้อความใหม่หรือปรากฏการณ์ใหม่ ๆ ขึ้นซึ่งเรียกว่า ข้อสรุป (ผล/ข้อยุติ) (Conclusion)

กระบวนการให้เหตุผล 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning or Induction) 2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning or Deduction)

การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการให้เหตุผลโดยสรุปผลมาจากเหตุย่อย ๆ หลาย ๆ เหตุ หรือความรู้ย่อย ๆ หลาย ๆ ความรู้ หรือกรณีเฉพาะหลาย ๆ กรณี โดยที่แต่ละเหตุหรือความรู้นั้นเป็นอิสระต่อกัน แล้วนำมาสรุปผลเป็นกรณีทั่วไป

การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากเหตุใหญ่หรือข้อความรู้ใหญ่หรือข้อความรู้ที่เป็นแม่บทมาเป็นข้อความรู้ย่อย(ผลสรุป) การให้เหตุผลแบบนี้พบมากในวิชาคณิตศาสตร์ โดยจะนำเอานิยาม สัจพจน์ และหลักการทางตรรกศาสตร์มาช่วยให้ได้ผลสรุป ซึ่งถ้าหากสรุปสมเหตุสมผล (valid) ก็จะเกิดเป็นกฎหรือทฤษฎีบทตามมา