คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ผู้สอนนางนิรมล โกวรรณ์ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเขียงใหม่
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สื่อการเรียนรู้ CAI ชั้นอนุบาล 1 เรื่อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
พาราโบลา (Parabola).
แบบฝึกหัด ประกอบการเรียนการสอน วิชา คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
Quadratic Functions and Models
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
แผนการจัดการเรียนรู้
การแจกแจงปกติ.
นายเชิดศักดิ์ ตั้นภูมี (คบ. จุฬาฯ กศ.ม. มศว.)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางวรรณี ศรีดนุเดช การพัฒนาความพร้อมด้านคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวน 0-9
โรงเรียนตรอนตรีสินธุ์ อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
ลำดับผู้มีอำนาจในการสั่งการภายในโรงเรียน
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ความชันและสมการเส้นตรง
เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ประวัติวรรณคดี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การใช้เครื่องมือ (Tool Box)
เฉลยแบบฝึกหัด เมื่อ จะได้ว่า ดังนั้น ค่าวิกฤต คือ.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
พาราโบลา (Parabola).
เฉลยแบบฝึกหัด 3.3 วิธีทำ พิจารณาเครื่องหมายของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม ชุดการสอนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง : พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 โดย นายวีระพล เขมะวิชานุรัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บำรุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม

พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 Y มาแล้วจ้า!!!! x หน้าถัดไป

จุดประสงค์การเรียนรู้ เขียนกราฟพาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 ได้ บอกจุดสูงสุดหรือจุดต่ำสุดและแกนสมมาตรของ กราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 ได้ หน้าถัดไป

จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดของ y จากสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 ได้ บอกความแตกต่างของกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a > 0 และ a < 0 ได้ หน้าถัดไป

ลักษณะกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 มีดังนี้ ๑ ลักษณะกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 มีดังนี้ กรณี a > 0 x = 0 1. เป็นพาราโบลาหงาย 2. มีแกน y เป็นแกนสมมาตร หรือแกนสมมาตรคือ เส้นตรง x = 0 3. มีจุดต่ำสุดอยู่ที่ (0, 0) (0, 0) 4. ค่าต่ำสุดของ y คือ 0 หน้าถัดไป

ลักษณะกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 มีดังนี้ (0, 0) กรณี a < 0 ๑ ลักษณะกราฟของสมการ y = ax2 เมื่อ a = 0 มีดังนี้ (0, 0) กรณี a < 0 x = 0 1. เป็นพาราโบลาคว่ำ 2. มีแกน y เป็นแกนสมมาตร หรือแกนสมมาตรคือ เส้นตรง x = 0 3. มีจุดสูงสุดอยู่ที่ (0, 0) 4. ค่าสูงสุดของ y คือ 0 หน้าถัดไป

y = ax2 การวาดกราฟพาราโบลา กำหนดสมการพาราโบลา วาดกราฟจากสมการ ๑ หน้าถัดไป

ขั้นตอนการวาดกราฟ มีดังนี้ ๑ ขั้นตอนการวาดกราฟ มีดังนี้ เพื่อความสะดวกเลือก ค่า x ที่ห่างจากแกนสมมาตร เท่ากันมาแทนค่าเพื่อหาค่า y เช่น x = -2 และ x = 2 ลงจุดที่หาค่ามาได้ รวมทั้ง จุด (0, 0) ถ้า a > 0 กราฟหงาย และมีจุดต่ำสุดที่ (0, 0) ถ้า a < 0 กราฟคว่ำ และมีจุดสูงสุดที่ (0, 0) ลากเส้นโค้งผ่านทุกจุดที่ลงไว้ หน้าถัดไป

การวาดกราฟพาราโบลาที่มีสมการ y = x2 ๑ การวาดกราฟพาราโบลาที่มีสมการ y = x2 x x2 = y (x , y) -2 (-2)2 = 4 (-2 , 4) -1 (-1)2 = 1 (-1 , 1) (0)2 = 0 (0 , 0) (-2 , 4) (2 , 4) 1 (1)2 = 1 (1 , 1) 2 (2)2 = 4 (2 , 4) (-1 , 1) (1 , 1) (0 , 0) หน้าถัดไป หน้าถัดไป

การวาดกราฟพาราโบลาที่มีสมการ y = - x2 ๑ การวาดกราฟพาราโบลาที่มีสมการ y = - x2 (0 , 0) x - x2 = y (x , y) -4 - (-4)2 = -8 (-4, -8) (-2 , -2) (2 , -2) -2 (-2, -2) - (-2)2 = -2 (0 , 0) - (0)2 = 0 2 (2, -2) - (2)2 = -2 (-4 , -8) (4 , -8) 4 (4, -8) - (4)2 = -8 หน้าถัดไป

ได้สิ ศาสตราจารย์จะสอนให้ ผมวาดกราฟจากสมการ y = ax2 เป็นแล้วแต่คราวนี้ ถ้าผมมีรูปกราฟ จะหาสมการจากกราฟได้มั้ยครับ ศาสตราจารย์ a b ? r y x ได้สิ ศาสตราจารย์จะสอนให้ ๑ ๑ หน้าถัดไป

y = ax2 การหาสมการพาราโบลา หาสมการพาราโบลา จากกราฟ กำหนดกราฟ ๑ หน้าถัดไป

ขั้นตอนการหาสมการมีดังนี้ ๑ ขั้นตอนการหาสมการมีดังนี้ พิจารณาว่ากราฟหงาย หรือคว่ำ ถ้าเป็น กราฟหงายใช้สมการ y = ax2, a > 0 กราฟคว่ำใช้สมการ y = ax2 , a < 0 เลือกจุด 1 จุดจากกราฟที่ไม่ใช่จุด (0, 0) แทนค่าลงในสมการเพื่อหาค่า a แล้วจึงนำค่า a กลับมาแทนที่สมการเดิม หน้าถัดไป

ยังนึกภาพไม่ออกใช่มั้ยหล่ะงั้นลองทำไปพร้อมๆกันเลย ๑ ยังนึกภาพไม่ออกใช่มั้ยหล่ะงั้นลองทำไปพร้อมๆกันเลย เป็นกราฟคว่ำจึงใช้ สมการ y = ax2 , a < 0 (3, -3) เลือกจุด (3, -3) แทน ลงในสมการจะได้ -3 = a(3)2 -3 = a(9) = a กำหนดกราฟ นำ a กลับไปแทนในสมการ จะได้ y = x2 หน้าถัดไป

อีกหนึ่งตัวอย่างนะจ๊ะ เป็นกราฟหงายจึงใช้สมการ y = ax2 , a > 0 ๑ อีกหนึ่งตัวอย่างนะจ๊ะ เป็นกราฟหงายจึงใช้สมการ y = ax2 , a > 0 กำหนดกราฟ เลือกจุด (1, 2) แทน ลงในสมการจะได้ (3, -3) 2 = a(1)2 2 = a (1, 2) นำ a กลับไปแทนใน สมการ จะได้ y = 2x2 กำหนดกราฟ หน้าถัดไป

สมการ y = ax2 และ y = bx2 ที่มีค่า a > b ข้อสังเกต สมการ y = ax2 และ y = bx2 ที่มีค่า a > b กราฟของสมการ y = ax2 จะแคบกว่า y = bx2 y = ax2 y = bx2 หน้าถัดไป

สมการ y = -ax2 และ y = -bx2 ที่มีค่า -a > -b ข้อสังเกต สมการ y = -ax2 และ y = -bx2 ที่มีค่า -a > -b กราฟของสมการ y = -ax2 จะแคบกว่า y = -bx2 y = -ax2 y = -bx2 หน้าถัดไป

มาทำแบบฝึกหัดกันเถอะ หน้าถัดไป

จงวาดกราฟพาราโบลาจากสมการต่อไปนี้ y = x2 a. y = 3x2 b. จากกราฟต่อไปนี้ จงหาสมการพาราโบลา c. d. (2, 7) (-4, -6) เฉลย

เฉลยจ้า a. y = 3x2 x 3x2 = y (x , y) หน้าถัดไป -1 3(-1)2 = 3 (-1 , 3) 3(-1)2 = 3 (-1 , 3) 3( )2 = ( , ) 3(0)2 = 0 (0 , 0) (-1 , 3) (1 , 3) 3( )2 = ( , ) ( , ) 1 3(1)2 = 3 (1 , 3) ( , ) (0 , 0)

เฉลยจ้า y = x2 b. x (x , y) หน้าถัดไป (0 , 0) x2 = y (-1 , ) ( 1 , ) (-1 , ) ( 1 , ) -2 (-2)2 = (-2 , ) -1 (-1)2 = (-1 , ) (-2 , ) (2 , ) (0)2 = 0 (0 , 0) 1 (1)2 = ( 1 , ) 2 (2)2 = (2 , )

กราฟหงายจึงใช้สมการ y = ax2 , a > 0 เฉลยจ้า หน้าถัดไป c. กราฟหงายจึงใช้สมการ y = ax2 , a > 0 เมื่อนำจุด (2 , 7) แทนลงในสมการจะได้ 7 = a(2)2 7 = a(4) = a นำค่า a กลับไปแทนในสมการเดิมจะได้ y = x2

กราฟคว่ำจึงใช้สมการ y = ax2 , a < 0 เฉลยจ้า หน้าถัดไป d. กราฟคว่ำจึงใช้สมการ y = ax2 , a < 0 เมื่อนำจุด (-4 , -6) แทนลงในสมการจะได้ -6 = a(-4)2 -6 = a(16) = a นำค่า a กลับไปแทนในสมการเดิมจะได้ y = x2

จบแล้วจ๊ะ อย่าลืมกลับไปทบทวนต่อด้วยนะ a b ? r y x จบแล้วจ๊ะ อย่าลืมกลับไปทบทวนต่อด้วยนะ ๑ ๑

๑ จบ... ครับแต่เอ๊ะ!!! รูปพาราโบลาที่ตัวศาสตราจารย์ a b ? r y x ครับแต่เอ๊ะ!!! รูปพาราโบลาที่ตัวศาสตราจารย์ เป็นสมการอะไรน๊า.... (0,0) (-1,-1) ๑ ๑