บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทที่ 8 ความน่าเชื่อถือ และต้นทุนคุณภาพ
บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
Chapter 6: Sampling Distributions
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
Probability & Statistics
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
Production Chart.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
สาชาวิชาการวัด ประเมิน และวิจัยทางการศึกษา
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
Minitab for Product Quality
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การเพิ่มผลผลิต Productivity
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Lot By Lot Acceptance Sampling
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ADDIE Model.
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ANSI/ASQ Z1.4 Acceptance Sampling Plans
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะ ในกรณีที่ผลิตเป็นลอต แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะในกรณีที่ผลิตเป็นลอตมี 3 ชนิด 1. เชิงเดี่ยว 2. เชิงคู่ 3. หลายเชิง ในแต่ละกรณีสามารถออกแบบแผนการสุ่มได้ 3 แบบ คือ Normal, Tighten และ Reduced

Normal แย่ลง ดีขึ้น Tightened Reduced

www.themegallery.com Company Logo

จำนวนตัวอย่าง การเลือกจำนวนตัวอย่าง สามารถใช้ตารางที่ 15 (Page 90) ช่วยในการกำหนดจำนวนตัวอย่างโดยพิจารณาจากจำนวนชิ้นงานในลอต แล้วเลือกระดับการตรวจ ก็จะได้ Sample Size Code Letter ซึ่งจะนำไปใช้เพื่อเปิดตารางอื่นต่อไป เพื่อกำหนดแผนการสุ่มตัวอย่าง ข้อแตกต่างของระดับการตรวจต่างๆได้ถูกแสดงไว้ในรูปที่ 45 กราฟแบบเทียบการตรวจระดับ I,II และ III

การใช้แผนการสุ่มตัวอย่าง 1. เลือก Lot Size 2. เลือก Inspection Level 3. ดูตารางที่ 15 เพื่อให้ได้ค่า Sample-Size code Letter 4. เลือกค่า AQL (Acceptance Quality Level/ระดับคุณภาพที่ยอมรับ) 5. เลือกชนิดของแผนการสุ่มตัวอย่าง(s,d,m) 6. หา Sampling plan 7. เริ่มด้วยแผนการสุ่มตัวอย่างแบบ Normal Inspection และเปลี่ยนเป็นแบบ Tighten หรือ Reduced โดยพิจารณาจาก Swiching Rules

นิยาม AOQ(Average Outgoing Quality)=คุณภาพผ่านออกเฉลี่ย คือ ค่าที่ใช้วัดร้อยละของเสียของสินค้าที่ผ่านออกจากกระบวนการ AOQL(Average Outgoing Quality Limit) = ขีดจำกัดคุณภาพผ่านออกเฉลี่ย คือค่าสูงสุดที่เป็นไปได้ของคุณภาพผ่านออกเฉลี่ย AQL(Acceptance Quality Level) = ระดับคุณภาพที่ยอมรับ ATI(Average Total Inspection) = จำนวนตรวจพินิจรวมเฉลี่ย

แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยว แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยวจากมาตรฐานแสดงในตารางที่ 12, 13 และ 14 ซึ่งมีแนวทางในการเลือกใช้ดังนี้ 1. เริ่มต้นด้วยการใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ Normal 2. เปลี่ยนจาก Normal เป็น Tighten เมื่อ 2 ใน 5 ลอตที่ต่อเนื่องกันถูก Reject 3. เปลี่ยนจาก tighten เป็น Normal เมื่อ 5 ลอตต่อเนื่องกันนั้นได้รับการยอมรับ 4. เปลี่ยนจาก Normal เป็น Reduced เมื่อ - เมื่อตรวจงาน 10 ลอต ผลการตรวจของทั้ง 10 ลอตคือ Accepted

แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยว - เมื่อจำนวนชิ้นงานที่ไม่สอดคล้องนั้นน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าที่แสดงไว้ในตารางที่ 15 (page 96) - กระบวนการผลิตอยู่ในสภาพคงที่ ไม่มีปัญหาหรืออุปสรรคใดๆ - เมื่อเป็นความต้องการของผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจ 5. เปลี่ยนจาก Reduced เป็น Normal - เมื่อ 1 ลอต หรือ แบช ถูก Reject - เมื่อขั้นตอนการใช้แผนการสุ่มตัวอย่างกำหนดไว้ - กระบวนการผลิตล่าช้า -อื่นๆ เช่น เป็นความต้องการของลูกค้า

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะ ในกรณีที่ผลิตแบบต่อเนื่อง แผนCSP-1

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะ ในกรณีที่ผลิตแบบต่อเนื่อง แผนCSP-2

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะ ในกรณีที่ผลิตแบบต่อเนื่อง แผน MIL-STD-1235B

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะ ในกรณีที่ผลิตแบบต่อเนื่อง แผน CSP-F

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรคุณลักษณะ ในกรณีที่ผลิตแบบต่อเนื่อง แผน CSP-V

แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับสำหรับตัวแปรชนิดผันแปร ข้อดี 1. มีข้อมูลพื้นฐานเพื่อการปรับปรุงคุณภาพ 2. เป็นข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ข้อเสีย 1. สามารถประเมินคุณลักษณะได้ครั้งละ 1 คุณลักษณะ ชนิดของแผนการสุ่มตัวอย่าง 1. Percent Nonconforming 2. Process Parameter

Shainin Lot Plot Plan มีวิธีสร้างดังนี้ 1. สุ่มตัวอย่างแบบ Random มา 10 กลุ่มกลุ่มละ 5 ตัวอย่าง 2. คำนวณค่าเฉลี่ย และค่าพิสัยของแต่ละกลุ่ม

Shainin Lot Plot Plan 3. สร้างฮิตโตแกรม จากข้อมูลที่ได้ในข้อ 2

Shainin Lot Plot Plan 4. คำนวนณค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยและค่าเฉลี่ยของค่าพิสัย 5. จากนั้นจึงคำนวณ Upper Lot Limit และ Lower Lot Limit

Questions & Answers