งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Lot By Lot Acceptance Sampling

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Lot By Lot Acceptance Sampling"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Lot By Lot Acceptance Sampling
Single Plan Kawinthorn Saicharoen

2 ถ้าภาพนี้คือ สินค้าที่คุณได้รับมอบมาจากผู้ขาย
จะยอมรับหรือไม่ ? ของเสีย ของดี

3 วิธีการที่จะตรวจสอบและตัดสินใจ
มีวิธีในการตรวจสอบ 3 วิธี 1. ยอมรับโดยไม่ต้องมีการทดสอบ 2. ทำการทดสอบ 100% 3. Acceptance Sampling

4 เราจะใช้ การสุ่มตัวอย่างเมื่อ
1. เมื่อเป็นการทดสอบ แบบทำลาย 2. เมื่อ ทำการตรวจสอบ 100% มีต้นทุนสูงมาก 3. ไม่สามารถทำการตรวจสอบ 100% ได้ 4. ไม่รู้ระดับคุณภาพสินค้าของผู้ขาย 5. ผู้ค้ามีประวัติคุณภาพดี แต่ยังไม่ถึงขั้นไม่ต้องตรวจ 6. ประวัติผู้ค้าดีมากๆ แต่เสี่ยงมากถ้าไม่ตรวจ

5 วัตถุประสงค์ของการทำ การสุ่มเพื่อการทดสอบ
ทำการสุ่มเพื่อการยอมรับเพื่ออะไร ? วัตถุประสงค์ของการทำ การสุ่มเพื่อการทดสอบ 1. เพื่อป้องกันการยอมรับของเสีย 2. เพื่อป้องกันการปฏิเสธของดี 3. เพื่อนำข้อมูลมาใช้เป็นประวัติคุณภาพ 4. เป็นแรงกระตุ้นทางเศรษฐกิจ

6 มีหลักการอยู่ 3 ประการที่ต้องรักษาอย่างเคร่งครัด
1 สินค้าที่นำมาทดสอบต้องเกิดจากการสุ่มเท่านั้น 2 ผลจากการสุ่มเพื่อการยอมรับหรือปฏิเสธรุ่นเฉพาะรุ่นนั้นเท่านั้น 3 เป็นแค่เครื่องมือในการตรวจสอบ Lot Sampling Attribute / Variable Summary สุ่ม วัดผล ทดสอบ ตัดสินใจ

7 เมื่อทำการเปรียบเทียบกับ 100% Inspection
ข้อดี ข้อเสีย 1 ประหยัด 2 ทดสอบแบบทำลายได้ 3 ผลทางจิตวิทยาเมื่อส่งคืนทั้ง lot 1 เสี่ยงในการตัดสินใจ 2 ได้รับข้อมูลน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ 100 % Inspection 3 เป็นการเพิ่มขั้นตอนในการทำงาน ด้านเอกสาร

8 Types of Acceptance sampling plan
Classification of acceptance sampling plans Single Double, multiple Sequential Item sampling Bulk sampling By attributes By variables Acceptance sampling plans

9 Sampling by attributes concept
Inspect & count number of defectives Acceptance number c Reject lot Accept lot N

10 อักษรย่อ และ นิยาม AQL = Acceptable Quality Level (จุดของผู้ขาย)
เป็นระดับคุณภาพต่ำสุดที่ลูกค้ายอมรับได้ที่ Pa = (1-a) AQL เป็นสัดส่วนของเสียที่แย่ที่สุดที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต LTPD = Lot Tolerance Percent Defective (จุดของผู้ซื้อ) เปอร์เซ็นต์ของเสียที่ยอมรับได้ในรุ่น ที่ Pa = b LTPD เป็นสัดส่วนของเสียที่ผู้ซื้อเป็นผู้กำหนด

11 ACCEPTANCE SAMPLING FOR ATTRIBUTE
ใช้กับข้อมูลที่เป็นการบ่งถึงคุณสมบัติ (ดี - เสีย) SINGLE SAMPLING PLAN มี 2 ตัวแปรที่สนใจคือ n คือ ขนาดของ SANPLE SIZE C คือ ของเสียสูงสุดที่ยอมรับได้ เช่น รับมอบสินค้าขนาด 300 ชิ้น/lot ทำการสุ่ม n = 50 ชิ้น ของเสียที่ยอมรับได้ C = 1 ชิ้น

12 ACCEPTANCE SAMPLING FOR ATTRIBUTE
SINGLE SAMPLING PLAN NO Lot N=300 สุ่ม n = 50 C <= 1 ACCEPT REJECT YES

13 การออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่าง
แผนการสุ่มชักตัวอย่างเป็นการแจกแจงแบบทวินามมีค่าเปลี่ยนแปลงตามสัดส่วนของเสีย เมื่อ Pa คือ ความน่าจะเป็นในการยอมรับ p คือ สัดส่วนของเสีย

14 การออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่าง
เมื่อนำสมการการแจกแจงแบบทวินามมาคำนวณที่สัดส่วนของเสีย จะได้กราฟที่มีเส้นโค้ง แสดงคุณลักษณะของ Lot ซึ่งสามารถบอกถึงความสามารถในการสุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากสัดส่วนของเสีย

15 ผลกระทบของ OC-Curve จากจำนวนตัวอย่าง ผลกระทบของ OC-Curve จากค่า C

16 ชนิดของ OC-Curve TYPE A - มีขนาด lot จำกัด (N)
- เป็นการแจกแจงแบบ Hypergeometric TYPE B - มีขนาด lot ไม่จำกัด - เป็นการแจกแจงแบบ Binomial

17

18 การออกแบบแผนการชักตัวอย่าง
ต้องคำนึงถึงตัวแปรต่างๆ 4 ค่าคือ  = ความเสี่ยงของผู้ผลิต b = ความเสี่ยงของผู้บริโภค AQL = ระดับคุภาพที่ยอมรับได้ LTPD = % ของเสียมากสุดที่ยอมรับได้ในรุ่น

19 OC Definitions on the Curve
Probability of Accepting Lot Lot Quality (Fraction Defective) 100% 75% 50% 25% .03 .06 .09 a = 0.10 90% b = 0.10 AQL LTPD Indifferent Good Bad จุด a ต้องหาจุดค่า n และ c ที่ทำให้เส้นโค้งลากผ่าน จุด a และ จุด b จุด b

20 การออกแบบแผนการสุ่มเชิงเดี่ยวโดบใช้ OC-Curve
ในการคำนวณจะใช้การแจกแจงแบบ ปัวซอง มาประมาณค่าการแจกแจงแบบทวินาม เพื่อง่ายต่อการคำนวณ

21 การออกแบบการสุ่มโดยการใช้ Binomial nomograph
ตัวอย่างการใช้เช่น กำหนด a = 0.05 b = 0.1 AQL = LTPD = จงออกแบบแผนการสุ่มเชิงเดี่ยวโดยใช้ nomograph

22

23 การตรวจพินิจปรับแก้

24 การตรวจพินิจปรับแก้ ใช้ในการประเมินการแก้ไขคุณภาพสินค้า
เป็นการพินิจปรับแก้กรณีที่รุ่นนั้นๆ ถูกปฎิเสธภายหลังจากการสุ่มตรวจ การปรับแก้ทำโดยการตรวจสอบ 100% ในรุ่นที่ถูกปฏิเสธ รุ่นที่ยอมรับ สินค้ามาส่ง รุ่นที่ปฎิเสธ ทำการตรวจสอบ 100% คัดของเสียออก

25 อักษรย่อ และ นิยาม AOQ = Average Outgoing Quality
เป็นสัดส่วนของเสียโดยเฉลี่ยภายหลังการตรวจพินิจ AOQ > p ไม่ดี AOQL = Average Outgoing Quality Limit = Max p(AOQ) ATI = Average Total Inspection เป็นจำนวนที่ต้องทำการตรวจสอบโดยเฉลี่ย ต้องกำหนดแผนการสุ่มที่ทำให้ ATI มีค่าต่ำที่สุด

26 สูตรการคำนวณ AOQ มีการแทนทีด้วยของดี ไม่มีการแทนทีด้วยของดี
N มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับ n

27 AOQL is the maximum point on the curve

28 มีการแทนทีด้วยของดี ไม่มีการแทนทีด้วยของดี

29


ดาวน์โหลด ppt Lot By Lot Acceptance Sampling

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google