บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การจัดการสินค้าคงคลัง
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การวางผังของสถานประกอบการ
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
Mathematics Money
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
Lot By Lot Acceptance Sampling
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
บทที่6 การควบคุมคุณภาพและปริมาณ
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบและเป็นข้อมูลในการตัดสินใจว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธวัตถุดิบที่จะนำเข้าสู่กระบวนการผลิต หรือเพื่อการตัดสินใจส่งสินค้าไปให้ลูกค้า มิใช่เพื่อการสร้างหรือควบคุมคุณภาพในผลิตภัณฑ์ หรือประมาณระดับคุณภาพสินค้า เนื่องจากการควบคุมคุณภาพสินค้าเป็นหน้าที่ของแผนภูมิควบคุม

ข้อดี-ข้อเสีย ข้อดี 1. มีผู้รับผิดชอบด้านคุณภาพ ทำให้มีแรงจูงใจ ข้อดี 1. มีผู้รับผิดชอบด้านคุณภาพ ทำให้มีแรงจูงใจ 2. ประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าเพราะตรวจวัดจำนวนน้อย 3. พัฒนาระบบการตรวจวัด มาเป็นการตัดสินใจที่ล่ะรุ่น 4. ประยุกต์ใช้กับการตรวจสอบแบบทำลายได้ 5. ทำให้มีการ Reject ทั้งรุ่น จึงเกิดแรงจูงใจในการปรับปรุง ข้อเสีย 1. มีความเสี่ยงที่จะปฏิเสธของดี และยอมรับของเสีย 2. ต้องใช้เวลาในการวางแผนและทำเอกสารมากขึ้น 3. ไม่มีการรับประกันได้ว่าชิ้นงานทุกชิ้นในรุ่นตรงตาม Specification

ชนิดของแผนการสุ่มตัวอย่าง แผนการสุ่มตัวอย่างมี 3 ชนิด คือ 1. แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยว N= Lot Size n= Sample Size c= Acceptance Number (Ac) 2. แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ N= Lot Size n1= Sample Size ของการสุ่มตัวอย่างครั้งแรกc1= Acceptance Number (Ac) r1= Rejection Number (Rc) n2= Sample Size ของการสุ่มตัวอย่างครั้งที่สอง c2= Acceptance Number (Ac) r2= Rejection Number (Rc)

ชนิดของแผนการสุ่มตัวอย่าง 3. การสุ่มตัวอย่างหลายเชิง N= Lot Size nm= Sample Size ของการสุ่มตัวอย่างครั้งแรก cm= Acceptance Number (Ac) rm= Rejection Number (Rc)

การจำแนกลอตหรือแบช 1. ชิ้นงานในลอตเดียวกัน มีความคล้ายกัน สินค้าที่อยู่ในลอตหรือแบชเดียวกันควรจะมีลักษณะดังนี้ 1. ชิ้นงานในลอตเดียวกัน มีความคล้ายกัน 2. จำนวนชิ้นงานในลอตเดียวกันมีจำนวนมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการตรวจวัด การเลือกตัวอย่าง การเลือกตัวอย่างมาวัดนั้น ตัวอย่างจะแทนคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทั้งลอต จึงควรเลือกแบบสุ่มโดยใช้ตาราง Random Number ลอตที่ถูก Reject ลอตที่ถูก Reject จะถูกคัดแยกของดีของเสีย

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยว OC Curve หรือ Operating Characteristic Curve ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะทำให้ทราบว่า ความน่าจะเป็นที่ลอตจะถูก Accept หรือ Reject Ex. จงหาค่า Pa เมื่อ Lot Size = 3000, Sample Size = 89, Acceptance Number = 2 (Assume 100po = 2%) Ex. จงสร้าง OC Curve โดยการสุ่มตัวอย่างเชิงเดี่ยว เมื่อ N = 1500, n = 110 และ c = 3 โดยการเขียนจุด 7 จุด

www.themegallery.com Company Logo

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ กราฟเส้นหนึ่งจะแทนความน่าจะเป็นในการยอมรับสินค้าเมื่อสุ่มตัวอย่างเพียงครั้งแรก ส่วนกราฟอีกเส้นหนึ่งจะแทนความน่าจะเป็นในการยอมรับสินค้าเมื่อสุ่มตัวอย่างครั้งที่ 2 แล้ว ตัวอย่าง OC Curve ของแผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ เมื่อ N= 2400, n1 = 150, c1 = 1, r1 = 4, n2 = 200, c2 = 5, r2 = 6 ขั้นตอนการตรวจของแผนการสุ่มตัวอย่างข้างต้นได้แสดงดังรูป จากตัวอย่างดังกล่าวหากจำนวนความไม่สอดคล้องเพียง 1 ชิ้น หรือน้อยกว่า สินค้าลอตนี้ก็จะถูก Accept นั้นคือ (Pa)I = (P1 or less)I

www.themegallery.com Company Logo

www.themegallery.com Company Logo

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ สำหรับการสุ่มตัวอย่างครั้งที่ 2 ลอตนี้จะถูกยอมรับเมื่อ 1. มีจำนวนความไม่สอดคล้อง 2 ชิ้น ในการสุ่มครั้งแรก และ มีจำนวนความไม่สอดคล้อง 3 ชิ้นหรือน้อยกว่าในการสุ่มครั้งที่ 2 2. มีจำนวนความไม่สอดคล้อง 3 ชิ้น ในการสุ่มครั้งแรก และ มีจำนวนความไม่สอดคล้อง 2 ชิ้น หรือน้อยกว่าในการสุ่มครั้งที่ 2 (Pa)II = (P2)(P3 or less)II + (p3)(P2 or less)II ความน่าจะเป็นของการยอมรับของกรณีนี้คือ (Pa)Combined = (Pa)I + (Pa)II

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ เมื่อสร้างสมการ OC แล้วก็เริ่มการคำนวณเพื่อสร้าง OC Curve โดยสมมติค่า p0 ค่าต่างๆ ดังนี้ สมมติให้ p0 = 0.01 (np0)I = (150)(0.01) = 1.5 (np0)II = (200)(0.01) = 2.0 (Pa)I = (P 1 or less)I = 0.558 (เปิดตาราง ) (Pa)II = (P2)I(P3 or less)II + (P3)I(P2 or less)II (Pa)II = (0.251)(0.857) + (0.126)(0.677) = 0.300 (Pa)combined = (Pa)I + (Pa)II = 0.558 + 0.300 (Pa)combined = 0.858

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างเชิงคู่ สมมติให้ p0 = 0.025 (np0)I = (150)(0.025) = 3.75 (np0)II = (200)(0.025) = 5.0 (Pa)I = (P 1 or less)I = 0.112 (Pa)II = (0.165)(0.265) + (0.207)(0.125) = 0.070 (Pa)combined = 0.182 สมมติให้ p0 = 0.030 (np0)I = (150)(0.030) = 4.5 (np0)II = (200)(0.030) = 6.0 (Pa)I = (P 1 or less)I = 0.061 (Pa)II = (0.113)(0.151) + (0.169)(0.062) = 0.070 (Pa)combined = 0.089

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างหลายเชิง N = 3000 n1 = 30 c1 = 0 r1 = 4 n2 = 30 c2 = 2 r2 = 5 n3 = 30 c3 = 3 r3 = 5 n4 = 30 c1 = 4 r1 = 5 (Pa)I = (P0)I (Pa)II = (P1)I(P1 or less)II + (P2)I(P0)II (Pa)III = (P1)I(P2)II(P0)III + (P2)I(P1)II(P0)III + (P3)I(P0)II(P0)III (Pa)IIII = (P1)I(P2)II(P1)III(P0)IV+…+(P3)I(P1)II(P0)III(P0)IV

เส้นโค้ง OC สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างหลายเชิง www.themegallery.com Company Logo

คุณสมบัติของเส้นโค้ง 1. เมื่อจำนวนตัวอย่างเป็นค่าเปอร์เซ็นต์ที่คงที่ของ Lot Size www.themegallery.com Company Logo

คุณสมบัติของเส้นโค้ง 2. เมื่อจำนวนตัวอย่างเป็นค่าคงที่ www.themegallery.com Company Logo

คุณสมบัติของเส้นโค้ง 3. เมื่อจำนวนตัวอย่างเพิ่มขึ้น ความชันของกราฟจะเพิ่มมากขึ้น www.themegallery.com Company Logo

คุณสมบัติของเส้นโค้ง 4. เมื่อค่า c ลดน้อยลง เส้นกราฟจะชันมากขึ้น www.themegallery.com Company Logo

ความสัมพันธ์ของผู้บริโภคและผู้ผลิต www.themegallery.com Company Logo

Assignment จงสร้างและเปรียบเทียบเส้นโค้ง OC สำหรับแผนชักตัวอย่างต่อไปนี้ (สร้าง 7 จุด) 1. N=1000 n=100 c=2 2. N=500 n=50 c=2 3. N=100 n=10 c=2 (ใช้ค่าสมมุติของระดับคุณภาพ (Po) ตารางที่ 14 หน้า 78)

Questions & Answers